กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12611
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorไพบูลย์ พงษ์แสงพันธ์
dc.contributor.advisorยุวดี รอดจากภัย
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ รังษา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2024-01-25T08:45:02Z
dc.date.available2024-01-25T08:45:02Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12611
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้ดูแลและผู้ป่วยสูงอายุโรคเบาหวาน อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ ซึ่งแต่ละกลุ่มประกอบด้วย ผู้ดูแล 30 ราย และผู้ป่วยสูงอายุโรคเบาหวาน 30 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจ ประกอบด้วยกิจกรรมรายกลุ่มย่อยและกิจกรรมการเยี่ยมบ้านเป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์และเครื่องวัดระดับน้ำตาลในเลือด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ paired t-test และ independent t-test ผลการวิจัยพบว่า ผู้ดูแลในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้พลังอำนาจ พฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคเบาหวานหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนผู้ป่วยสูงอายุโรคเบาหวานในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ย พฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยสูงอายุโรคเบาหวานหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่า กลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และระดับน้ำตาลในเลือดผู้ป่วยสูงอายุ โรคเบาหวานหลังการทดลองต่ำกว่าก่อนการทดลองและต่ำกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิต (p<0.05) การเสริมสร้างพลังอำนาจตามแนวคิดของกิบสัน ส่งผลต่อการรับรู้พลังอำนาจ พฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคเบาหวาน และพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยสูงอายุโรคเบาหวาน จะเป็นอีกแนวทางในส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลและพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยกลุ่มอื่น ๆ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectผู้ป่วยเบาหวาน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ
dc.subjectผู้สูงอายุ -- ผู้ป่วย -- การดูแล
dc.subjectHealth Sciences
dc.titleผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้ดูแลและผู้ป่วยสูงอายุโรคเบาหวาน อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม
dc.title.alternativeEffect of empowerment progrm for cregivers nd elderly ptients with dibetes in knthrwichi district, mhsrkhm province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research is a quasi-experimental study. The objective was to study effect of empowerment program for caregivers and elderly patients with diabetes in Kantharawichai district, Mahasarakham province. The sample was divided into experimental group and comparison group, with each group consisted of 30 caregivers and 30 elderly patients with diabetes. The Experimental group was received the empowerment program for caregivers and elderly patients with diabetes which comprised of activities such as including group education and home visit in 6 weeks. The data was collected by interview and blood glucose monitors. Frequencies, percentages, mean, standard deviation, paired t-test and independent t-test were used for statistical analysis. Results of the research study showed that after expose to empowerment program, The caregivers in the experimental group had an average score of perceived empowerment, and caring behavior were higher than before the experiment and higher than comparison group, with statistical significance (p<0.05). The elderly patients with diabetes in the experimental group had an average score of health behavior of elderly patients with diabetes were higher than before the experiment and higher than comparison group, with statistical significance (p<0.05). The Fasting blood sugar level in the experimental group after the experiment was lower than before the experiment and lower than comparison group, with statistical significance (p<0.05). The results of this study would suggest that this empowerment program based on Gibson’s concept should be recommended for further expansion and guided to promote caring behavior and health behavior in other groups.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการสร้างเสริมสุขภาพ
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.17 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น