กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12608
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรทิพย์ เย็นใจ | |
dc.contributor.advisor | อนามัย เทศกะทึก | |
dc.contributor.author | โกวิทย์ ปิ่นสุวรรณ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2024-01-25T08:45:02Z | |
dc.date.available | 2024-01-25T08:45:02Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12608 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ความเข้มข้นของปริมาณฝุ่นไม้เอ็มดีเอฟ ต่ออาการผิดปกติระบบทางเดินหายใจของผู้ปฏิบัติงานโรงงานเฟอร์นิเจอร์ จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มตัวอย่างคือผู้ที่ปฏิบัติงานในโรงงานเฟอร์นิเจอร์ 3 แห่ง จำนวน 162 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ และเก็บตัวอย่างอากาศ เพื่อประเมินความเข้มข้นฝุ่นไม้เอ็มดีเอฟโดยใช้ IOM sampler ผลการศึกษาพบว่าความเข้มขนฝุ่นไม้เอ็มดีเอฟเฉลี่ยเรขาคณิต (GM)2.21 มก./ลบ.ม (SD = 3.49) อาการผิดปกติระบบทางเดินหายใจ พบว่า ส่วนใหญ่มีอาการระคายเคืองคันแสบออกร้อน แห้งของจมูก ลำคอ จำนวน 56 คน (ร้อยละ 34.6) อาการคัดจมูก น้ำมูกไหล คันจมูก เมื่อสัมผัสฝุ่น จำนวน 28 คน (ร้อยละ 17.3) และอาการหอบหืด จำนวน 6 คน (ร้อยละ 3.7) การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่ออาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจส่วนบน พบว่าลักษณะกลุ่มงานผลิตชิ้นส่วนไม้มีความเสี่ยงมากกว่ากลุ่มสำนักงาน 3.54 เท่า โดยมีค่า OR (95% CI) เท่ากับ 3.54 (1.112-12.608) และ ผู้ปฏิบัติงานที่สัมผัสฝุ่นไม้เอ็มดีเอฟความเข้มข้นสูงกว่า 5 มก./ลบ.ม มีความเสี่ยงมากกว่ากลุ่มที่ สัมผัสต่ำกว่า 5 มก./ลบ.ม 3.06 เท่า โดยมีค่า OR (95% CI) เท่ากับ 3.06 (1.353-6.917) การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่ออาการระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง พบว่า ประวัติการสัมผัสฝุ่นในอดีตมีผลอาการผิดปกติ ระบบทางเดินหายใจส่วนล่างมากกว่าผู้ที่ไม่มีประวัติสัมผัสฝุ่นในอดีต 2.33 เท่า โดยค่า OR (95% CI) เท่ากับ 2.33 (0.42-12.87) ผลการศึกษาสมรรถภาพปอด พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีสมรรถภาพผิดปกติ จำนวน 54 คน (ร้อยละ 33.3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถภาพปอด พบว่าผู้ที่สูบบุหรี่มีความเสี่ยงน้อยกว่า ผู้ที่ไม่ได้สูบบุหรี่ 0.17 เท่า โดยมีค่า OR (95% CI) เท่ากับ 0.17(0.05-0.53) งานวิจัยนี้พบผลกระทบต่อความผิดปกติระบบทางเดินหายใจคือลักษณะงานงานผลิตชิ้นส่วนไม้และความเข้มข้นของฝุ่นไม้เอ็มดีเอฟ ควรกำหนดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับประวัติ การสัมผัสฝุ่นในอดีตของผู้ปฏิบัติงานเฟอร์นิเจอร์และสถานที่ปฏิบัติงานควรมีปริมาณฝุ่นไม้เอ็มดีเอฟน้อยกว่า 5 มก./ลบ.ม | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ระบบทางเดินหายใจ -- ผลกระทบจากโรงงานเฟอร์นิเจอร์ -- ฉะเชิงเทรา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย | |
dc.subject | Health Sciences | |
dc.title | การรับสัมผัสฝุ่นไม้เอ็มดีเอฟและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติระบบทางเดินหายใจของผู้ปฏิบัติงานโรงงานเฟอร์นิเจอร์ในจังหวัดฉะเชิงเทรา | |
dc.title.alternative | Mdf wood dust exposure nd fctor ssocited with bnorml respirtory helth mong furniture mnufcturing workers in chchoengso province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The aim of this study was to investigate to personal factors and MDF dust concentration that affected respiratory symptoms among 162 workers in an MDF furniture factory in Chacheongsao Province. Data were collected by interview and Personal Institute of Occupational Medicine (IOM) samplers to assess employee’s exposure to MDF dust the workplace. The geometric mean (GM) concentration of MDF dust itself was 2.21 ppm (SD 3.49). For respiratory symptoms, employees had nose and throat irritation 56 people (34%), asthma symptoms 6 people (3.7%). Factors affecting the symptoms of upper respiratory tract, this study found that the production of wooden parts was at risk by 3.54 times higher than the offices, OR (95% CI):3.54 (1.112 to 12.608). Workers exposed to MDF dust with a concentration higher than >5 mg/m3 had higher risk than those who exposed to MDF dust lesser than 5 mg/m3 3.06 times, OR (95% CI):3.06 (1.353 to 6.917). Factors affecting the lower respiratory tract symptoms, the history of dust exposure in the past had abnormal respiratory symptoms greater than those without a history of dust exposure by 2.33 times, OR (95% CI): 2.33 (0.42 to 12.87). Results of the abnormal lung function was found 54 people (33%). Factors affecting the pulmonary function, this study found that the smoking was at risk by 0.17 times OR (95% CI): 0.17 (0.05 to 0.53). This authors suggest that adverse respiratory symptoms among wood worker are mainly related to wooden parts department, MDF dust and history of dust exposure. Therefore, working conditions should appropriate for those who had the history of dust exposure in the past and MDF dust monitoring should be as lesser than 5 mg/ m 3 | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | อาชีวอนามัยและความปลอดภัย | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 1.04 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น