กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1239
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอานนท์ วงษ์แก้ว
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:21Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:21Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1239
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการนำเสนอพฤติกรรมข้อต่อคาน-เสาเหล็กก่อสร้างในประเทศเมื่อรับแรงวัฏจักร ด้วยวิธีการวิเคราะห์ไฟไนอิลิเมนต์ ขนาดหน้าตัดคาน-เสาทดสอบในห้องปฏิบัติการ ณ มหาวิทยาลัยมิชิแกน ถูกนำมาเป็นต้นแบบในการสร้างแบบจำลองไฟไนอิลิเมนต์ (แบบจำลอง FEM1) ตัวอย่างคาน-เสาชนิดเชื่อมแผ่นปีกคาน และใส่สลักเกลียวที่แผ่นเอวคาน (Welded Unreinforced Flanges-bolted Web) ผลการวิเคราะห์แบบจำลองนี้เทียบกับผลการทดสอบตัวอย่าง พบว่าแบบจำลอง FEM1 มีความถูกต้องแม่นยำสูง โดยให้ผลการวิเคราะห์ใกล้เคียงกับผลการทดสอบตัวอย่างจริง จากนั้นทำการปรับแบบจำลอง FEM1 โดยเชื่อมหน้าตัดคานกับปีกเสาทั้งหมด (แบบจำลอง FEM2) ซึ่งเป็นแบบจำลองข้อต่อคาน-เสาเหล็กชนิดที่นิยมสร้างในประเทศไทย ผลการวิเคราะห์แบบจำลอง FEM2 มีลักษณะใกล้เคียงกับแบบจำลอง FEM1 กล่าวคือ ความเค้น von-Mises สูงสุดเกิดขึ้นบริเวณจุดต่อระหว่างปีกคานกับหน้าเสา อย่างไรก็ตามเมื่อเทียบระหว่างชิ้นส่วนย่อยพบว่า ความเค้นในปีกคานและแผ่น Continutity ของแบบจำลอง FEM2 เมื่อมีการกระจายตัวสม่ำเสมอมากกว่าของแบบจำลอง FEM1 นอกจากนี้แผ่นคานสามารถถ่่ายแรงจากคานสู่หน้าเสาได้ดีกว่าแผ่นเหล็กปะกับ (shear tab) ส่วนแผ่น panel zone ของทั้งสองแบบจำลองมีลักษณะการกระจายตัวของความเค้นใกล้เคียงกันแต่แบบจำลอง FEM1 แสดงค่าความเค้นที่สูงกว่าและการกระจายตัวได้ดีกว่าที่ค่าการหมุนตัวของข้อต่อเท่ากัน ดังนั้นจึงสรุปว่าข้อต่อคาน-เสาเหล็กชนิด FEM1 มีประสิทธิภาพในการถ่ายแรงวัฏจักรคานสู่เสาได้ดีกว่าข้อต่อชนิดอื่น FEM2th_TH
dc.description.sponsorshipรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ปีที่ 1 ทุนอุดหนุนการวิจัย งบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2554en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคานth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleกำลังและความเหนียวของข้อต่อโครงสร้างเหล็ก ที่ก่อสร้างในประเทศไทยภายใต้แรงแผ่นดินไหวth_TH
dc.title.alternativeStrength and ductility of steel connections constructed in Thailand under earthquake loaden
dc.typeResearch
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeThis study presents behavior of steel beam-to-column connections commonly constructed in Thailand under cyclic loading using Finite Element (FE) Analysis. Experimental setup and results of a welded unreinforced flanges-bolted web connection specimen tested at University of Michigan [8] was referenced to create the FE model ofbeam-to-column connections (FEM1). The verification of FEM1 models showed excellent correlation with the tested results. The FE model-welded beam ceoss section named as FEM2 was developed by modification of the FEM1 model. The maximum applied loads of FEM1 and FEM2 are 120 are 130 kips, respectively. Overall behaviors of both models are quite similar with high stress concentration at the beam-to-column interface area. However, FEM2 shows a more uniform distribution of von-mises stress on beam flanges and continuity plates than FEM1 at the same connection rotations. Moreover, the beam web of FEM2 participates in transferring forces a beam web to a column flange more effectively than FEM1. Although, the panel zones of FEM1 and FEM2 have a similar behavior by participating in energy absorpation, the panel zone of FEM2 model has higher levels of yielding at the same connection rotations. Therefore, it can be concluded that overall the steel beam-to-column connection with Thai practical construction shows a better behavior than a welded unreinforced flanges-bolted webconnection.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_232.pdf2.27 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น