กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1230
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สยาม ยิ้มศิริ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:04:21Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:04:21Z | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1230 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้พิจารณาถึงความเป็นไปได้ในการปรับปรุงคันดินทางรถไฟในบริเวณภาคเหนือตอนล่าง เพื่อให้คันทางมีเสถียรภาพและความคงทนมากขึ้น โดยใช้การผสมด้วยปูนซีเมนต์และปูนขาว เนื่องจากคันดินจะเสียกำลังเมื่อต้องอยู่ในสภาวะน้ำท่วมในฤดูฝน งานวิจัยนี้จึงได้นำตัวอย่างดินเหนียวจากบริเวณภาคเหนือตอนล่างมาปรับปรุงคุณภาพด้วยการผสมปูนซีเมนต์หรือปูนขาวในปริมาณต่าง ๆ (0%, 2%, 5% 8% และ 10% ที่ปริมาณความชื้นในการบดอัดต่าง ๆ (OMC-6%, OMC-3%, OMC, OMC+3% และ OMC +6%) และที่ระยะเวลา การบ่มต่าง ๆ (0, 7 14, และ 28 วัน) เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางกลศาสตร์ของดินที่ปรับปรุงคุณภาพแล้ว จากการทดสอบในห้องปฏิบัติการคือ CBR, Unconfined compression test และ Direct shear test เมื่อผสมซีเมนต์ในปริมาณ 8% ของน้ำหนักดินแห้ง ดินจะมีคุณสมบัติเป็น Frictional material และเมื่อผสมที่ปริมาณซีเมนต์ 10% ดินจะมีคุณสมบัติเป็น Non frictional material สำหรับการปรับปรุงด้วยการผสมปูนขาวจะมีคุณสมบัติด้านกำลังต่ำกว่าดินที่ผสมซีเมนต์ และมีค่า stiffness ที่ใกล้เคียงกัน แต่มีคุณสมบัติเด่น คือสามารถลดการบัวตัวได้ดีและเร็วกว่าดินผสมซีเมนต์ จากนั้นก็จะนำผลจากการทดลองไปวิเคราะห์ด้วย Finite element โดยใช้คุณสมบัติที่ผสมซีเมนต์ 8% และ 10% ใช้คุณสมบัติดินที่ผสมปูนขาว 5% และ 8% ที่ปริมาณความชื้นในการบดอัดเดียวกันคือ OMC+ 3% และที่ระยะเวลาการบ่ม 14 วัน ทั้งนี้ได้จำลอง Model โดยปรับปรุงลึกจากผิวบนของคันทางลงไป .05, 1.0 และ 1.5 เมตร และให้คันทางอยู่ในสภาพแช่น้ำ ซึ่งผลจากการวิเคราะห์แล้วสามารถสรุปได้ว่าดินที่ปรับปรุงด้วยปริมาณซีเมนต์ 10% บดอัดที่ปริมาณความชื้น OMC+3% และบ่มที่ระยะเวลา 14 วัน โดยจะต้องปรับปรุงที่ระดับความลึก 1.5 เมตร จึงจะเหมาะสมที่สุด เนื่องจากมีความปลอดภัยมากที่สุด (FS = 3.73) และมีระยะการเคลื่อนตัวแนวดิ่งที่เกิดจากน้ำหนักรถไฟต่ำ (Displacement = 27.05nm.) | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ทางรถไฟ - - คันทาง | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.title | การศึกษาการปรับปรุงคุณสมบัติของดินสำหรับการก่อสร้างคันทางรถไฟโดยการใช้สารผสมเพิ่ม | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2556 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2567_235.pdf | 5.98 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น