กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1224
ชื่อเรื่อง: | ผลกระทบของการจัดเรียงตัวของอนุภาคดินต่อคุณสมบัติในการรับแรงเฉือนแบบระบายน้ำของทราย |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | สยาม ยิ้มศิริ มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
คำสำคัญ: | ดิน - - การไหลซึมผ่าน. สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
วันที่เผยแพร่: | 2551 |
สำนักพิมพ์: | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
บทคัดย่อ: | ในโครงการวิจัยนี้ผลกระทบของโครงสร้างดินต่อพฤติกรรมความแค้น-ความเครียดแบบระบายน้ำจะถูกศึกษาโดยโปรแกรมการคำนวณเชิงตัวเลขซึ่งวิเคราะห์ปัญหาการเคลื่อนตัวของมวลดินแบบ Distinct Element Method (DEM) ตามวิธีการที่เสนอโดย Cundall & Strack (1979) โดยใช้โปรแกรมที่ชื่อ PFC3D (Itasca, 1999) โปรแกรม PFC3D จะสมมติให้อนุภาคดินเป็นทรงกลมแข็งและออกแรงกระทำต่อกันตามแบบจำลองพฤติกรรมที่จุดสัมผัส (Contact point constitutive model) ผลการคำนวณเชิงตัวเลขนี้จะสามารถวิเคราะห์การจัดเรียงตัวของดินในแง่ของ contact normal ได้ในเชิงปริมาณ เมื่อนำผลคำนวณไปเปรียบเทียบกับผลการทดลองในห้องปฏิบัติการจะทำให้สามารถอธิบายปรากฎการณ์ที่สนใจนี้ในเชิงปริมาณอย่างเป็นระบบได้ The DEM analysis of an assembly of uniform-sized spheres is employed to simulate the effect of initial soil fabric on the monotonic drained triaxial behavior of sands. By studying the microscopic parameters obtained from the DEM analysis, it is found that different drained behavior is observed from the specimens with different initial soil fabrics, even though they are sheared from the same void ratio and isotropic stress condition. The DEM results obtained from this study are qualitatively consistent with the experimental resulrs on the effects of specimen reconstitution methods on the mechanical behavior of sands. |
URI: | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1224 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น