กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1221
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorปราณี วงศ์จันทร์ต๊ะ
dc.contributor.authorวิศรุดา ศุภรังสรรค์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:20Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:20Z
dc.date.issued2546
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1221
dc.description.abstractจุดมุ่งหมายของงานวิจัยนี้เพื่อตรวจสอบค่าความส่องสว่างของระบบไฟฟ้าแสงสว่าง อาคารเกษม จาติกวณิช มหาวิทยาลัยบูรพา โดยนำค่าความส่องสว่างเฉลี่ยที่ได้จากการวัดมาเปรียบเทียบกับค่าความส่องสว่างมาตรฐาน (CIE No.29.2,1986) ขบวนการดำเนินงานแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนแรกคือ ศึกษาและสำรวจจำนวนดวงโคมไฟฟ้าและผังการติดตั้งในแต่ละห้อง ขั้นตอนที่สองคือ วัดค่าความส่องสว่างของแต่ละห้องใช้ลักซ์มิเตอร์ ซึ่งแต่ละห้องได้ทำการวัด 2 ครั้ง โดยวัดกลางวัน 1 ครั้ง และกลางคืน 1 ครั้ง ขั้นตอนสุดท้ายคือ การวิเคราะห์ระบบโดยเริ่มจากการคำนวณหาค่าความส่องสว่างเฉลี่ยจากทฤษฏี จากนั้นนำค่าที่ได้นี้ไปเปรียบเทียบกับค่าความส่องสว่างเฉลี่ยที่ได้จากการวัด และค่าความส่องสว่างมาตรฐาน ผลที่ได้จากจำนวนห้อง 100 ห้อง สรุปได้ว่าในเวลากลางวันมีจำนวนห้องที่มีค่าความส่องสว่างเฉลี่ยสูงกว่าค่ามาตรฐาน 71% ส่วนเวลากลางคืน มีจำนวนห้องที่มีค่าความส่องสว่างเฉลี่ยสูงกว่าค่ามาตรฐาน 24%th_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รัยทุนอุดหนุนจากงบประมาณเงินรายได้ประจำปีงบประมาณ 2546 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectค่าความส่องสว่างth_TH
dc.subjectค่าความส่องสว่างมาตรฐานth_TH
dc.subjectระบบไฟฟ้าแสงสว่างth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ระบบไฟฟ้าแสงสว่างอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2546
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to investigate the illumination value of lighting system “Kasame Chatikavanij” Building, Burapha University by comparing between the average value of illumination from measurement and the value of illumination from standard level (CIE No.29.2,1986). There are three steps of the processes. The first step is to study and survey the amount of the luminaire in each room and the plan of the installation. The second step is to measure the value of illumination in each room by Luxmeter. The illumination was measured 2 times per room. One was measured at daytime. The other was measured at nighttime. The final step is to analyse the system by calculating the average value of illumination from theory then comparing this value with the illumination value from measurement and that of standard level. The results have shown that base on one hundred rooms. 71% of total rooms had on average value of illumination higher than the standard level in daytime and 24% of total rooms had a average value of illumination higher than the standard level in nighttime.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น