กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1217
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอุทัย ประสพชิงชนะ
dc.contributor.authorเอกอุ ธรรมกรบัญญัติ
dc.contributor.authorธีรภาคย์ เอื้อสถาพรกิจ
dc.contributor.authorพสธร ทาเจริญ
dc.contributor.authorอัคคธี ศรีประไพ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:20Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:20Z
dc.date.issued2547
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1217
dc.description.abstractโครงงานนี้ได้ทำการออกแบบและสรร้างเครื่องดักฝุ่น เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาเครื่องดักฝุ่นแบบเคลื่อนที่ได้ โดยการศึกษาและวิเคราะห์ประสิทธิภาพการทำงาน รวมทั้งการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นแก่ผู้ใช้งาน ในการออกแบบนั้นเริ่มจากการใช้พัดลมดูดอากาศ ทำให้เกิดแรงดูดที่จะสามารถดูดฝุ่นเข้าไปในเครื่องได้ โดยพิจารณาจากความเร็วลมที่เหมาะสมสำหรับฝุ่นจากงานไม้ ฝุ่นจะไหลผ่านท่อทางเข้าซึ่งภายในตัวถังจะมีแผ่นปะทะ เพื่อเปลี่ยนทิศทางให้ฝุ่นหนักตกลงสู่ถาดรองฝุ่น ส่วนฝุ่นที่เบากว่าก็จะถูกรองโดยผ้ากรอง อากาศที่สะอาดจะถูกปล่อยออกทางพัดลม ฝุ่นที่ติดอยู่ที่ผ้ากรองก็จะรอการทำความสะอาดต่อไป ทำการทดสอบเครื่องดักฝุ่น โดยนำฝุ่นจากงานเฟอร์นิเจอร์ไม้น้ำหนักประมาณ 200 กรัม มาเทลงพื้นที่ขนาด 1 ตารางเมตร แล้วทำการดูดฝุ่นเพื่อหาประสิทธิภาพการทำงานโดยการนำฝุ่นที่ได้จากเครื่องหลังการทดสอบในแต่ละครั้ง มาชั่งน้ำหนัก เปรียบเทียบกับปริมาณฝุ่นก่อนทำการทดสอบ ซึ่งพบว่าเครื่องดักฝุ่นที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเฉลี่ยถึง 96.15% อัตราการไหลของอากาศที่ปากท่อดูดเท่ากับ 14.98 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที และความดันสูญเสียของระบบเท่ากับ 157.69 มิลลิเมตรน้ำ ในส่วนของการวัดการสั่นสะเทือนที่ตำแหน่งมือจับทั้งสองข้างพบว่า ขนาดการสั่นสะเทือนสูงกว่าเกินค่ามาตรฐานที่ผู้ใช้จะสามารถทำงานได้อย่างปลอดภัย เนื่องจากทำการวิเคราะห์สัญญาณการสั่นสะเทือนแบบสเปกตรัม ทำให้วิเคราะห์ได้ว่าเครื่องดักฝุ่นมีสาเหตุการสั่นสะเทือนมาจากมวลไม่สมดุลที่ชุดมอเตอร์และพัดลม และเกิดการเยื้องแกนขึ้นด้วยth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectBlowerth_TH
dc.subjectDustth_TH
dc.subjectDust-Collectorth_TH
dc.subjectFilterth_TH
dc.subjectVibrationsth_TH
dc.subjectฝุ่นth_TH
dc.subjectพัดลมดูดอากาศth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.subjectเครื่องดักฝุ่นแบบเคลื่อนที่ได้th_TH
dc.titleการออกแบบเครื่องดักฝุ่นth_TH
dc.title.alternativeDesign of a dust collectorth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2547
dc.description.abstractalternativeThis project is design and construction of dust collector for study and analysis of its efficiency. Vibration which effects to the operator of a dust collector is also evaluated. Processes of collecting dust begin from blower that moves a volume of air with dust from the ground inlet to a case. The direction of the flowing dust is changed by a buffle inside the case. Dust which has large particles will fall into the hopper while the small particles flow pass the baffle and be collected by the filter. By using the dust collector to suck dust 200 grams, the weight of dust before and after collected by the machine is compared. The result shows that it has efficiency about 96.15%. thenair flow rate at inlet is 14.98 m³/min. the pressure loss of the system is 157.69 mmH_2 o. The part of vibration evaluation, the vibration signals are measured at the handle positions of the machine. By using spectrum analysis, the result show that the amplitude is more than the standard value for sefe operating. Mass unbalance and misalignment occur at fun and motor set. These data will be used to develop the second prototype of the dust collector in the future.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น