กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1216
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorฉวีกาญจน์ สันทัสนะโชค
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:20Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:20Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1216
dc.description.abstractปริมาณสารหนู (Arsenic) เกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ เช่นเกิดจากการกระทำของมนุษย์ หรือเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ การปนเปื้อนของสารหนูในน้ำใต้ดิน ซึ่งเป็นปัจจัยหลักของน้ำดื่ม และกลายเป็นปัญหาระดับโลก ในปัจจุบันมีการบำบัดน้ำที่ปนเปื้อนสารหนูหลายวิธี ได้แก่ วิธีทางฟิสิกส์เคมี ด้านชีววิทยา และแม้แต่การแยกโดยใช้เมมเบรน แต่อย่างไรก็ตามวิธีการดังกล่าวข้างต้นมีราคาค่อนข้างแพงและยากในการประยุกต์ใช้ในชุมชนที่ยากจนและอยู่ในชนบท ซึ่งโดยงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการดูดซับสารหนูด้วยดินแดงที่มีในธรรมชาติ หาได้ง่ายและเป็นวัสดุราคาประหยัด กระบวนการในการดูดซับ ใช้น้ำใต้ดินที่ปนเปื้อนสารหนูในปริมาณ 300, 500 และ 800 ไมโครกรัมต่อลิตร (µg/L) ดูดซับด้วยดินแดงในปริมาณ 20 กรัมต่อลิตร ผลการดำเนินงานพบว่า ดินแดงมีความสามารถในการดูดซับสารหนูที่ปนเปื้อนในน้ำใต้ดินที่ความเข้มข้น 300 ไมโครกรัมต่อลิตร คิดเป็นร้อยละ 98.74 ความสามารถในการดูดซับของดินแดงสอดคล้องกับฟลูดลิค (Freundlich Isotherm) และจากข้อมูลการทดลองมีความเหมาะสมกับแบบทดลองทางจลพลศาสตร์แบบการดูดซับอันดับสองเทียม (Pseudo-second order kinetic model) มากที่สุด Abstract Arsenic has occurred from several reasons such as caused by human activities or occurs naturally. It contamination of groundwater, one of the most important sources for drinking water, has become a major concern in a global scale. There are several techniques to remove arsenic from groundwater such as physic – chemical, biological and membrane technologies. However those techniques are expensive or difficult to apply in poor and rural areas. The aim of this study was focus on the effect of adsorption using laterite soil naturally which is easy to find and low cost material. The arsenic concentrations of arsenic were 300, 500 and 800 ppb (µg/L) and adsorbent dose was 20 g/L. The result found that laterite could adsorb arsenic contaminated in groundwater at 300 ppb, Freundlich Isotherm Pseudo-second order kinetic modelth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectจลนพลศาสตร์th_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการศึกษาแบบจำลองทางจลนพลศาสตร์ของการดูดซับอาร์เซนิคบนดินแดงth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2554
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น