กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1212
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิทวัส แจ้งเอี่ยม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:19Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:19Z
dc.date.issued2552
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1212
dc.description.abstractการศึกษาความสามารถในการย่อยสลายทางชีวภาพของสารลดแรงตึงผิวประจุลบในผงซักฟอกในสภาวะที่มีออกซิเจน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการย่อยสลายทางชีวภาพของสารลดแรงตึงผิวประจุลบในผงซักฟอกในสภาวะที่มีออกซิเจน และศึกษากลไกการย่อยสลายทางชีวภาพของสารลดแรงตึงผิวประจุลบ เพื่อหาจุลินทรีย์ที่มีความสามารถในการย่อยสลายสารลดแรงตึงผิวประจุลบได้ โดยสารลดแรงตึงผิวที่ศึกษาคือ ลิเนียร์แอลคิลเบนซียซัลโฟเนต (LAS), แอลฟาโอลิฟินซัลเฟต (AOS), แอลกอฮอล์เอสเทอร์ซัลเฟต (AES), แฟตตีแอลกอฮอร์ซัลเฟต (FAS) และสารลดแรงตึงผิวผสม (LAS : AES, 30 : 70) จากผลการทดสอบการย่อยสลายทางชีวภาพของสารลดแรงตึงผิวประจุลบ พบว่า จุลินทรีย์ที่นำมาใช้ในการทดสอบไม่มีเอนไซม์ที่สามารถย่อยสลายสารลดแรงตึงผิวประจุลบได้ และได้มีการศึกษาจุลินทรีย์ที่อยู่ในน้ำจุลินทรีย์ที่เตรียมจากถังบำบัดนำเสียของโรงงาน เพื่อทำการทดสอบการย่อยสลายทางชีวภาพของ SLS พบว่าจุลินทรีย์ที่นำมาใช้ในการทดสอบไม่สามารถย่อยสลาย SLS ได้ นอกจากนี้ยังทำการศึกษากลไกการย่อยสลายทางชีวภาพของสารลดแรงตึงผิวประจุลบ เพื่อหาจุลินทรีย์ที่มีความสามารถในการย่อยสลายสารลดแรงตึงผิวประจุลบได้ จากการศึกษาพบว่าจุลินทรีย์ Pseudomonas putida มีความสามารถในการย่อยสลาย SLS ดีที่สุดเนื่องจากเป็นจุลินทรีย์ที่มีเอนไซม์ Alcohol dehydrogenase, Aldehyde dehydrogenase และ Acyl CoA. Syntertase ที่มีความสามารถในการย่อยสลายสารลดแรงตึงผิวประจุลบได้ดีth_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดย ทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectจุลินทรีย์ - - การย่อยสลายทางชีวภาพth_TH
dc.subjectสารลดแรงตึงผิวth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการทดสอบหาความสามารถในการย่อยสลายทางชีวภาพของสารลดแรงตึงผิวผสมในผงซักฟอกในสภาวะที่มีออกซิเจนth_TH
dc.typeResearch
dc.year2552
dc.description.abstractalternativeThe main objective of this project is to study the ability in biodegradation of surfactants in detergent under aerobic condition. Sodium Lauryl Sulfate (SLS), Linear Alkyl Benzene Sulfonate (LAS), Alpha Olefin Sulfonate (AOS), Alcohol Ester Sulfate (AES), Fatty Alcohol Sulfate (FAS) and Mixed Surfactant (LAS : AES, 30 : 70) were used as surfactants in this study. The result of biodegradation of surfactant showed that the sewage sludge have no enzyme that can degraded surfactants. Moreover, screening the microorganisms in the sewage sludge showed that there are no microorganism which can degraded SLS. Microbial’s enzyme analysis showed that SLS can be adequatedly degraded by Pseudomonas putida because it has enzyme Alcohol dehydrogenase, Aldehyde dehydrogenase และ Acyl CoA. Syntertase, which can degraded anionic surfactants.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น