กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1200
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ทวีชัย สำราญวานิช | |
dc.contributor.author | เดชบดินทร์ ศิริ | |
dc.contributor.author | สิทธิชัย เพียรขุนทด | |
dc.contributor.author | วิชิต พุฒิสันติกุล | |
dc.contributor.author | วรรณวรางค์ รัตนานิคม | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:01:23Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:01:23Z | |
dc.date.issued | 2547 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1200 | |
dc.description.abstract | โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสัมประสิทธิ์การแพร่ของเกลือคลอไรด์ในซีเมนต์เพสต์ที่ผสมเถ้าลอย และหาสัดส่วนผสมคอนกรีตที่ต้านทานการแพร่ของเกลือคลอไรด์ที่ดี โดยได้ทำการหล่อตัวอย่างซีเมนต์เพสต์ทรงกระบอกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5 เซนติเมตร สูง10 เซนติเมตร ที่มีอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน 0.30 0.40 และ0.50 และมีสัดส่วนการแทนที่ปูนซีเมนต์ด้วยเถ้าลอย 0.20 0.40 และ 0.60 ของปูนซีเมนต์ และใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ทำการบ่มในน้ำบริสุทธิ์เป็นเวลา 7 วันและ 28 วัน หลังจากนั้นนำตัวอย่างมาแช่เกลือคลอไรด์ของโซเดียมคลอไรด์ที่มีความเข้มข้น 5% ของเกลือคลอไรด์ เมื่ออายุการแช่น้ำเกลือคลอไรด์ครบ 28 วัน และ 91 วัน ก็นำก้อนตัวอย่างมาตัดเป็นชิ้นและบดเป็นผงเพื่อวิเคราะห์หาปริมาณเกลือคลอไรด์ และทำการทดสอบกำลังรับแรงอัดของตัวอย่างที่อายุ 28 วัน ของทุกสัดส่วนการผสม จากการทดลองและวิเคราะห์พบว่า เมื่อเวลาในการบ่มน้ำเท่ากัน ค่าสัมประสิทธิ์ในการแพร่ของเกลือคลอไรด์มีค่าลดลงเมื่อระยะเวลาในการแช่ในสารละลายเกลือคลอไรด์นานมากขึ้น และหากพิจารณาที่ระยะเวลาในการแช่ในสารละลายเกลือคลอไรด์ที่เท่ากันพบว่าเมื่อเวลาในการบ่มนานขึ้น ค่าสัมประสิทธิ์ในการแพร่ของเกลือคลอไรด์มีค่าลดลง ซึ่งการที่สัมประสิทธิ์การแพร่ของเกลือคลอไรด์ที่ลดลงมีสาเหตุมาจากการที่เนื้อของซีเมนต์เพสต์แน่นขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | สนับสนุนการวิจัยโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.subject | เกลือคลอไรด์ | th_TH |
dc.title | การศึกษาสัมประสิทธิ์การเผยแพร่ของเกลือคลอไรด์ในซีเมนต์เพสต์ที่ผสมเถ้าลอย | th_TH |
dc.title.alternative | A study of chloride diffusion coefficient of cement-fly ash pastes | en |
dc.type | Research | |
dc.author.email | twc@buu.ac.th | |
dc.author.email | wanwarangr@buu.ac.th | |
dc.year | 2547 | |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research project are to find the chloride diffusion coefficient of cement-fly ash pastes and to determine suitable mix proportion of paste, which is more durable for chloride diffusion. The specimens of 5-cm diameter and 10-cm length were cast for different water to binder ratio of 0.30, 0.40 and 0.50 and fly ash to binder ratio of 0.20, 0.40 and 0.60. The cement was type I Portland cement. The specimens were cured in pure water for 7 and 28 days. At the end of the chloride submersion, the specimens were picked up from the bath and cut in to sliced pieces according to the depth of the specimens. Then, the specimens were crushed into powder and analyzed for chloride contents. The compressive strengths of the specimen were also tested. From the experimental result and analytical calculation, it was found that if the curing period in pure water was the same, the specimens with longer submersion in chloride solution had lower chloride diffusion coefficient. On the other hand, if the submersion period in chloride solution was the same, the specimens with longer curing period in pure water had lower chloride diffusion coefficient. This was because the denser pastes were achieved | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น