กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1195
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิเชียร ชาลี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:01:23Z
dc.date.available2019-03-25T09:01:23Z
dc.date.issued2551
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1195
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการทำคอนกรีตบล็อกจากเถ้าเตา โดยตรงจากโรงงานผลิตกระดาษจังหวัดปราจีนบุรี โดยมีอัตราส่วนผสมของคอนกรีตบล็อกที่ใช้ในงานวิจัยนี้ทั้งหมด 13 ส่วนผสม แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มคอนกรีตบล็อกที่ผสมเถ้าก้นเตาละเอียดและกลุ่มคอนกรีตบล็อกที่ผสมเถ้าก้นเตาหยาบ กลุ่มคอนกรีตบล็อกที่ใช้เถ้าก้นเตาละเอียดจะใช้เถ้าก้นเตาแทนที่มวลรวมทั้งหมด กลุ่มคอนกรีตบล็อกที่ใช้เถ้าก้นเตาหยาบจะใช้เถ้าก้นเตาหยาบแทนที่หินฝุ่น โดยทำการศึกษาคุณสมบัติของคอนกรีตบล็อกที่ผสมเถ้าก้นเตาได้แก่ ศึกษากำลังอัดของคอนกรีตบล็อกจากเถ้าก้นเตา ที่อายุทดสอบ 7, 28 และ 60 วัน ศึกษคุณสมบัติทางด้านความหนาแน่น และเปอร์เซ็นต์การดูดซึมน้ำในคอนกรีตบล็อกที่ผสมเถ้าก้นเตา ที่อายุทดสอบ 28 วัน จากผลการศึกษาพบว่า เปอร์เซ็นต์การดูดซึมน้ำของคอนกรีตบล็อกมีค่าสูงขึ้นตามปริมาณของเถ้าก้นเตาที่มากขึ้น และเมื่อใช้เถ้าก้นเตาในส่วนผสมคอนกรีตบล็อกมากขึ้นส่งผลให้กำลังอัดและความหนาแน่นของคอนกรีตบล็อกมีค่าลดลงอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตามค่ากำลังอัดของคอนกรีตบล็อกทุกส่วนผสมที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้มีค่ากำลังสูงกว่าค่ามาตรฐาน มอก.58-2533 และมีค่าเปอร์เซ็นต์การดูดซึมน้ำน้อยกว่าค่ามาตรฐาน มอก.58-2533 ซึ่งกำหนดไว้ไม่ให้เกินร้อยละ 35 ซึ่งถือว่าคอนกรีตบล็อกมีกำลังอัดที่ดีเมื่อเทียบกับค่ามาตรฐาน Abstract This work was to study the utilization of original Bottom ash from paper mill, Prachinburi in making concrete block. A total of 13 mix proportions of concrete block are separated into 2 groups. The first group, finenesses bottom ash was used to replace coarse and fine aggregate, and the second group, coarse bottom ash was used to replace coarse and fine aggregate. All of concrete blocks were tested to determine the compressive strengths at the ages of 7, 28, and 60 days. In addition density and absorption of concrete block were also tested at 28 day of curing in air The results showed that percentage absorption of concrete block increase with the increasing of bottom ash in concrete block. In addition the increases of bottom ash replacement in concrete block clearly reduce the compressive strength and density of concrete block. However the compressive strength of all concrete block in this study was higher than 25 ksc which was suggested by TISI 58-2533. Throughout, the percentage absorption of concrete block were also lower than 35%. These present the good performance of concrete block when compared to TISI 58-2533.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคอนกรีตบล็อกth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการทำคอนกรีตบล็อกจากเถ้าก้นเตาth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2551
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
charin.pdf28.6 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น