กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1183
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชุติมา จารุศิริพจ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:01:22Z
dc.date.available2019-03-25T09:01:22Z
dc.date.issued2548
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1183
dc.description.abstractปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันเป็นปฏิกิริยาที่แอลกอฮอล์ทำปฏิกิริยากับไตรลีเซอไรด์ในน้ำมันพืช โดยมีด่างหรือกรดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันของน้ำมันปาล์มที่เหลือจากการประกอบอาหารกับเอทานอล โดยใช้กรดซัลฟูริก และโปรตัสเซียมไฮดรอกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา โดยศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมของปฏิกิริยาทั้งสอง จากนั้นก็เตรียมไบโอดีเซลที่ได้โดยใช้สภาวะดังกล่าว แล้วนำไปวัดคุณสมบัติทางเชื้อเพลิงต่างๆ จากกการศึกษาพบว่าสภาวะที่เหมาะสมสำหรับปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันโดยใช้กรดซัลฟูริกเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาคือ ใช้ปริมาณกรดซัลฟูริก 10% ใช้อัตราส่วนเชิงโมลของเอทานอลต่อน้ำมันเท่ากับ 9:1 ทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 87°C และทำปฏิกิริยาเป็นเวลานาน 12 ชั่วโมงไบโดดีเซลที่ได้จากการทำปฏิริยานี้มีคุณสมบัติทางเชื้องเพลิงดังนี้คือ มีค่า Flash Point 172 °C มีความหนาแน่นที่ 15องศา เท่ากับ 0.878 g/m³ วัดค่า Cetane index ได้ประมาณ 47.17 และมีปริมณซัลเฟอร์ในน้ำมัน เท่ากับ 0.01%wt ค่าอุณหภูมิการกลั่นที่ 90%recovery เท่ากับ 331°C ปริมาณกากคาร์บอน 0.16%wt และหาความหนืดจลน์ 6.57 cSt ส่วนปฏิกิริยีที่ใช้ KOH เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา สภาวะที่เหมาะสมของปฏิกิริยานี้คือใช้อัตรารส่วนโมลของเอมานอลต่อน้ำมันปาล์ม 12:1 ปริมาณ KOH 2% โดยน้ำหนักของนน้ำมันปาล์มและ ทำปฏิกิริยาที่ 30±2องศาเซเซียล ใช้เวลาในการทำปฏิกิริยา 12 ชั่วโมงคุณสมบัติทางเชื้อเพลิงของไบอดีเซลที่วัดได้คือ Flash Point 172 °C มีความหนาแน่นที่ 15°C เท่ากับ 0.874 g/m³ อุณภูมิที่กลั่น 90% recovery มีค่า 335°C ความหนืดจลน์และปริมาณกากคาร์บอน ที่วัดได้มีค่าเท่ากับ 4.53 cSt และ 0.058% wt ตามลำดับชั้น ซึ่งมีค่าสองอย่างหลังนี้สูงกว่ามาตรฐานน้ำมันดีเซลทั่งไปเล็กน้อยth_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectน้ำมันปาล์มth_TH
dc.subjectปฏิกิริยาเคมีth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการศึกษาปฎิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชัน (Transesterification) ของน้ำมันปาล์มที่ทิ้งจากการทอดอาหารth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2548
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to find the optimum conditions for the transesetrification of wasted cooking oil and ethanol by using sulfuric and potassium as the catalysts. The investigated variables were the reaction time, catalyst concentration, molar ratio of ethanol: oil, and the reaction temperatures. The wasted oil used in these experimcnts was collected form McDonald and Pizza Company restaurants. The results from this study showed that the optimum concentration of the catalyst, for the acid catalyzed reaction, was 10% by weight of wasted palm oil. Whereas, the optimum molar ratio of ethanol: oil was about 9:1 for this reaction. And, the optimum reaction time and temperature were87 °c and 12 hours, respectively.The major properties of biodiesel produced from the above conditions were in the limit of the diesel specification in Thailand and US’s biodiesel specifications, excepts for the kinematic viscosity and carbon residue. For the base-catalyzed trensesterification, the optimum concentration of potassium hydroxide was about 2%. The optimum molar ratio of ethanol: oil was approximately 12:1. In this case, the reaction temperature of 30 °c gave the best results, while the reaction time was still 12 hours which is a little bit too slow for this type of reaction. All of the properties of the biodiesel produced from these conditions were in the limit of both the diesel specification Thailand and the US’s biodiesel specification.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น