กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1180
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | มัณฑนา รังสิโยภาส | |
dc.contributor.author | จิตติ พัทธวณิช | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:01:21Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:01:21Z | |
dc.date.issued | 2549 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1180 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยการอบแห้งเมล็ดในมะม่วงหิมพานต์โดยใช้ปั๊มความร้อนนี้ เป็นการศึกษากระบวนการอบแห้งเมล็ดมะม่วงหิมพานต์โดยใช้ปั๊มความร้อน เพื่อช่วยในการประหยัดพลังงาน และลดระยะเวลาที่ใช้ในการอบแห้ง ออกแบบและสร้างเครื่อง รวมทั้งประเมินสมรรถนะและค่าใช้จ่าย เครื่องอบแห้งประกอบด้วยห้องอบ ปั๊มความร้อน ฮีตเตอร์ และพัดลม ห้องอบขนาด 0.67×0.70×0.52 ลูกบาศก์เมตร มีความจุทั้งหมด 8 ถาด ปั๊มความร้อนประกอบด้วยโคปแลนด์สกอร์คอมเพรสเซอร์รุ่น ZR18K4-PFJ ขนาด 19,000 บีทียูต่อชั่วโมง ใช้สารทำความเย็น R22 แผงคอนเดนเซอร์มีขนาด 0.35×0.84 ตารางเมตร ใช้ท่อขนาด 3/8 นิ้ว จำนวน 2 แถว มีครีบระบายความร้อน 12 ฟินต่อนิ้ว แผงอีแวปปอเรเตอร์มีขนาด 0.35×0.55 ตารางเมตร ใช้ท่อขนาด 3/8 นิ้ว จำนวน 3 แถว มีครีบระบายความร้อน 12 ฟินต่อนิ้ว และใช้วาล์วขยายตัวชนิดควบคุมด้วยความร้อน ใช้ฮีตเตอร์ขนาด 3.5 กิโลวัตต์ ใช้พัดลมที่ใช้กำลังมอเตอร์ 0.55 kW ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการอบเป็นเมล็ดในมะม่วงหิมพานต์ มีความชื้นเริ่มต้นโดยเฉลี่ย 10-12 เปอร์เซ็นต์มาตรฐานแห้ง ทำการอบแห้งครั้งละ 20 กิโลกรัม จนกระทั่งเหลือความชื้นสุดท้ายเท่ากับ 0.5 เปอร์เซ็นต์มาตรฐานแห้ง ใช้อัตราการไหลเชิงปริมาตรของอากาศภายในห้องอบ 0.02 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที และแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ส่วน คือ การอบแห้งที่อุณหภูมิ 60 และ 70 องศาเซลเซียส ตามลำดับ จากการทดลองพบว่า สภาวะที่เหมาะสมในการอบแห้งเมล็ดในมะม่วงหิมพานต์ คือ การอบแห้งที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส ใช้เวลาในการอบแห้ง 7 ชั่วโมง สิ้นเปลืองพลังงานในการอบแห้งทั้งหมด 40.17 เมกกะจูลต่อกิโลกรัมน้ำที่ระเหย อัตราการอบแห้ง 0.22 กิโลกรัมน้ำที่ระเหยต่อชั่วโมง ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในการอบแห้งประมาณ 2.37 บาทต่อกิโลกรัมเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ และสมรรถนะของปั๊มความร้อนมีค่า 1.54 | th_TH |
dc.description.sponsorship | ทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การปั๊มความร้อน | th_TH |
dc.subject | การอบแห้ง | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.subject | เครื่องอบแห้ง | th_TH |
dc.title | การอบแห้งเมล็ดในมะม่วงหิมพานต์ด้วยปั๊มความร้อน | th_TH |
dc.title.alternative | The cashew kernel drying by heat pump | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2549 | |
dc.description.abstractalternative | The Cashew Kernel Drying by Heat Pump is the studying about cashew kernel drying process using heat pump to economize energy and reduce time, design and built the dryer, determining the performance and evaluating drying cost. The dryer consists of cabinet dryer, heat pump, heater, and fan. The size of this cabinet dryer is 0.67×0.70×0.52 cubic meters. The cabinet dryer contains 8 trays used to support cashew kernels 20 kilograms. Heat pump consists of four important equipment: a Copeland scroll compressor model ZR18K4-PFJ 19,000 Btu per hour in capacity, a condensing coil size 0.35×0.84 square meters with condensing tube 3/8 inch 2 rows and 12 fins per inch, an evaporating coil size 0.35×0.55 square meters with evaporating tube 3/8 inch 3 rows and 12 fins per inch, and an thermostatic expansion valve to control flow rate of refrigerant. The refrigerant R22 is used as the working fluid of the heat pump. Heater’s capacity is 3.5 kilowatt. Power input for fan is 0.55 kilowatt. Cashew kernels which have initial moisture content 10-12 %db were dried to final moisture content 0.5 %db. This experiment uses volume flow rate in cabinet dryer about 0.02 cubic meters per second and is divided in two cases of drying. The first case uses drying temperature 60 degrees Celsius. In the second cases uses drying temperature 70 degrees Celsius. The result of experimental drying temperature 60 degrees Celsius provides the best result. It consumes energy about 40.17 MJ per kilogram water and uses the time around 7 hours to dry. The drying rate is 0.22 kilogram water per hour, the energy cost is 2.37 baht per kilogram cashew kernel approximately and the COP of heat pump is about 1.54 | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น