กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1173
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.authorปรัชญา จูเหล็ง
dc.contributor.authorนัฐภา ภาระศรี
dc.contributor.authorอภินันท์ ภูชัน
dc.contributor.authorสุรสิทธิ์ หมั่นวิชา
dc.contributor.authorมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:01:21Z
dc.date.available2019-03-25T09:01:21Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1173
dc.description.abstractโครงการวิจัยนี้มุ่งศึกษาพฤติกรรมกำลังรับแรงดัดของคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผสมเส้นใยไฟเบอร์ โดยศึกษาไฟเบอร์ จำนวน 3 ชนิด อันได้แก่ สตีลไฟเบอร์ กลาสไฟเบอร์ และอาคิลิกไฟเบอร์ โดยผสมลงในคอนกรีตในอัตราส่วน 0.1% 0.2% และ 0.5% โดยปริมาตรของคอนกรีต พร้อมกันนี้ได้ทดสอบกำลังรับแรงอัด แรงดึง แรงดัด โมดูลัสยืดหยุ่นและอัตราส่วนปัวซองค์ของคอนกรีตที่ผสมไฟเบอร์ พร้อมทั้งนำเสนอวิธีการคำนวณกำลังรับแรงดัดของคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผสมไฟเบอร์ที่สภาวะต่าง ๆ อันได้แก่ เมื่อคานเริ่มแตกร้าว เมื่อเหล็กเสริมคราก และเมื่อรับกำลังสูงสุดและใช้วิธีการคำนวณนี้ในการคำนวณหากำลังรับแรงดัดของคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผสมไฟเบอร์ชนิดต่าง ๆ ด้วย ผลจากการทดลองพบว่า เมื่อใช้ปริมาณเหล็กเสริมในคานคอนกรีตเสริมเหล็กเท่ากัน การใส่สตีลไฟเบอร์ กลาสไฟเบอร์ และอาคิลิกไฟเบอร์ผสมในคอนกรีตช่วยเพิ่มกำลังรับแรงดัดและความเหนียวของคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผสมไฟเบอร์ให้สูงกว่าคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ไม่ผสมไฟเบอร์ และที่อัตราส่วนการใช้ไฟเบอร์ 0.1-0.2% โดนปริมาตรของคอนกรีต กำลังรับแรงดัดของคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผสมอาคอลิกไฟเบอร์มีค่าสูงกว่าที่ผสมสตีลไฟเบอร์และกลาสไฟเบอร์ แต่ที่อัตราส่วนการใช้ไฟเบอร์ 0.5% โดยปริมาตรของคอนกรีต กำลังรับแรงดัดของคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผสมสตีลไฟเบอร์มีค่าสูงกว่าที่ผสมกลาสไฟเบอร์และอาคิลิกไฟเบอร์ และในการใช้วิธีการคำนวณที่นำเสนอคำนวณหากำลังรับแรงดัดของคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผสมไฟเบอร์ต่าง ๆ 3 ชนิด ที่ทำการทดสอบโดยผู้แต่งเอง และผลการทดสอบคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผสมสตีลไฟเบอร์จากนักวิจัยอื่น ๆ ซึ่งผลจากการเปรียบเทียบพบว่า ค่ากำลังรับแรงดัดที่คำนวณได้มีความคลาดเคลื่อนจากผลการทดสอบอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้th_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคานคอนกรีต -- การเสริมแรงth_TH
dc.subjectคานคอนกรีตเสริมเหล็กth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
dc.titleการศึกษากำลังรับแรงของคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผสมไฟเบอร์th_TH
dc.title.alternativeA study of strength of reinforced concrete beam with fibersen
dc.typeResearch
dc.author.emailtwc@buu.ac.th
dc.year2549
dc.description.abstractalternativeThis research project aims to study the fiexural strength behavior of fiber-reinforced concrete beam. There were three types of fiber used in this study, which were steel fiber, glass fiber and acrylic fiber. The fiber contents in reinforced concrete (RC) were 0.1%, 0.2% and 0.5% by volume of concrete. The compressive strength, tensile strength, flexural strength, modulus of elasticity and Poisson’s ratio of concrete were also investigated, this project proposes the method for calculating the flexural strength of fiber-reinforced concrete beam at various states, which were cracking state, yielding state and ultimate state. This method was applied to determine the flexural strength of reinforced concrete beam with three types of fiber. From the experimental results, the reinforced concrete beam with steel fiber, glass fiber and acrylic fiber exhibited higher flexural strength and ductility than a normal RC beam at the same steel ratio. For fiber content of 0.1-0.2% by volume of concrete, the flexural strength of RC beam with acrylic fiber was larger than those of steel fiber and glass fiber. But, for fiber content of 0.5% by volume of concrete, the flexural strength of RC beam with steel fiber was higher than those of glass fiber and acrylic fiber and flcxural strength of reinforced concrete beam with steel fiber perfonned by other researches. The verification showed that the proposed method was satisfactory for determining the flexural strength of fiber-reinforced concrete beam.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น