กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1172
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ
dc.contributor.authorขวัญหทัย จิรเดชขจร
dc.contributor.authorเสาวณี ประวงษ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:01:21Z
dc.date.available2019-03-25T09:01:21Z
dc.date.issued2551
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1172
dc.description.abstractการทดสอบลักษณะเฉพาะของออกไซด์ผสมเซอร์โคเนียมออกไซด์และแลนทาเนียมออกไซด์โดยการเตรียมออกไซด์ผสม 2 วิธีคือ วิธีตกตะกอนและวิธีอิมเพรค เนชันซึ่งทำการทดสอบโดยการหาพื้นที่ผิวจำเพาะและโครงสร้างรูพรุนโดยวิธีบีอีที (Brunauer-Emmett-Teller Method) การทดสอบการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างโดยวิธีการวิเคราะห์ทางความร้อนด้วยเครื่องมือ Thermo Gravimetric Analysis (TGA) -Differentail Thermal Analysis (DTA) ผลการทดสอบพบว่าออกไซด์ผสมที่เตรียมโดยวิธีอิมเพรคเนชันมีค่าพื้นผิวที่สูงเมื่อเปรียบเทียบกับออกไซด์ผสมที่ เตรียมโดยวิธีการตกตะกอน นอกจากนี้พบว่าปริมาณ La อยู่ในช่วง 25-50% โดยโมลเตรียมโดยทั้งสองวิธีมีลักษณะรูพรุนเช่นเดียวกับเซอร์โคเนียมออกไซด์บริสุทธิ์ลักษณะคล้ายขวดหมึก (ink bottle likr pore) และมีขนาด 4-13 nm เมื่อนำไปทดสอบความเปลี่ยนแปลงเฟสของเซอร์โคเนียมออกไซด์พบว่าการเตรียมโดยวิธีการตกตะกอนเมื่อปริมาณ La อยู่ในช่วง 25-50% โดยโมลแสดงลักษระการเปลี่ยนแปลงเช่นเดียวกับเซอร์โคเนียมออกไซด์บริสุทธิ์ แต่ตำแหน่งการคาย ความร้อนเพื่อจัดเรียงตัวของโครงสร้างใหม่เกิดขึ้น ณ ตำแหน่งสูงกว่าตำแหน่งของเซอร์โคเนียมออกไซด์บริสุทธิ์ เมื่อนำตัวเร่งปฏิกิริยาดังกล่าวใช้เร่งปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชันที่อุณหภูมิ 65C อัตราส่วนของเมทานอลต่อน้ำปาล์มเท่ากับ 1:6 โดยโมล ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็ง 10% โดยน้ำหนักพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาออกไซด์ผสมดังกล่าวมีความแข็งแรงของเบสไม่เพียงพอที่จะเร่งปฏิกิริยาจึงไม่เกิดปฏิกิริยา จึงไม่เกิดผลิตภัณฑ์เป็นเมทิลเอสเทอร์th_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleโครงการการประยุกต์เชิงการเร่งปฏิกิยาของออกไซด์ผสมของเซอร์โคเนียมออกไซด์และแลนทาเนียมออกไซด์th_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailsoipatta@buu.ac.th
dc.year2551
dc.description.abstractalternativeCharacterization of Zr02 - LaO3 mixed oxide , prepared by two different methods i.e. precipitation and impregnation, were carried out by means of BET (Brunauer-Emmett-Teller) , DTA-TGA (Differential Thermal Analysis and Thermo Gravimetric Analysis) and X-ray diffraction . It was found that impregnation method gave the mixed oxide higher surface area than those derived from precipitation method. Moreover, the mixed oxide containing 25-50°/ti» by mole possessed pore characteristics similarly to pure ZrO2 based on adsorption and desorption isotherms. According to these isotherms, we may identify that the mixed oxide high in Zr“ possibly contained ink-bottle like pore as microporous material. Their phase transformation was investigated by TGA-DTA and occurrence of exothermic peaks slightly shifted to higher temperature in comparison with pure ZrO2. Application of the synthesized oxides as soild catalysts for transesterification was investigated at molar ratio of palm oil and methanol 1:6 and temperature 65 C. After the reaction was prolonged for 6 hr, negative catalytic results were found for all synthesized oxides. it is possible because their acid and base strengths are insufticient to form methoxy ions (CH3O) which is a starting compound for transesterificationen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น