กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1171
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ
dc.contributor.authorเพ็ญแข ภู่ยิ้ม
dc.contributor.authorกรกมล นวลตรีฉ่ำ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:01:21Z
dc.date.available2019-03-25T09:01:21Z
dc.date.issued2552
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1171
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ ทำการศึกษาเกี่ยวกับประยุกต์ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์ สำหรับปฏิกิริยาคาร์บอนมอนอกไซต์ ไฮโดรจิเนชัน เพื่อการทดสอบความสามารถทางการเร่งปฏิบัติกิริยาและเสถียรภาพของตัวเร่งปฏิกิริยา เมื่อเลือกใช้ออกไซต์ผสมระหว่างเซอร์โคเนียมออกไซต์และแลนทาเนียมออกไซต์ เป็นตัวรองรับให้กับตัวเร่งปฏิกิริยา เพื่อปรับปงคุณสมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์ เมื่อใช้การผสมเชิงกลในการเตรียมตัวรองรับออกไซต์ผสม ที่ปริมาณแลนทาเนียมไอออนตั้งแต่ 1, 5, 10 และ 25 เปอร์เซ็นต์โดยโมล จากนั้นนำตัวเร่งปฏิกิริยามาทดสอบคุณลักษณะด้วยวิธีการ 4 วิธี X-ray diffraction (XRD), BET Surface area, Temperature programmed reduction (T PR) และ Hydrogen chemisorption ซึ่งจากการทดสอบทั้งหมด พบว่าการเติมแลนทาเนียมออกไซต์ในปริมาณที่มากกว่า 5 เปอร์เซ็นต์โดยโมล ลงในเซอร์โคเนียมออกไซต์ที่มีโครงร่างผลึกแบบโมโนคลินิก ส่งผลให้อุณหภูมิของการทำปฏิกิริยารีดักชันเพิ่มสูงขึ้น เมื่อใช้ปริมาณแลนทาเนียมออกไซต์ตั้งแต่ 1, 5, 10 และ 25 เปอร์เซ็นต์โดยโมลมีค่าในช่วง 1.95-2.95 *10^17 โมเลกุลต่อน้ำหนักตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งมีค่าต่ำกว่าตัวเร่งปฏกิริยาโคบอลต์ที่มีอยู่บนตัวรองรับออกไซต์บริสุทธิ์มีค่า 6.9*10^17 โมเลกุลต่อตัวเร่งปฏิกิริยา จากนั้นได้นำตัวเร่งปฏิกิริยาทั้งหมดไปทดสอบความสามรถทางการเร่งปฏิกิริยาคาร์บอนมอนอกไซต์ไฮโดรจิเนชัน เป็นเวลา 6 ชั่วโมง พบว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยาเริ่มต้นมีค่าสอดคล้องกับการดูดซับไฮโดรเจน สำหรับตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์บนโมโนคลินิกเซอร์โคเนียมออกไซต์ และที่ 1 เปอร์เซ็นต์แลนทาเนียมไอออน มีอัตราการเกิดลดลงถึง 50 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์ที่อยู่บนตัวรองรับที่แลนทาเนียมไออน 5-25 เปอร์เซ็นต์โมล มีค่าต่ำโดยอัตราการเกิดลดลงภายใน 2 ชั่วโมง แลคงที่ตลอดระยะเวลาการทดสอบ แลพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์บนเซอร์โคเนียมออกไซต์ ให้ค่าการเลือกเกิดมีเทนสูงสดที่ 65 เปอร์เซ็นต์โดยโมล รองลงมาคือ 1 เปอร์เซ็นต์โดยโมล แลนทาเนียมไอออน ส่วนตัวเร่งปฏิกิริยาที่ประกอบด้วยแลนทานัมไอออน ตั้งแต่ 5-25 เปอร์เซ็นต์โดยโมล ให้ค่าการเลือกเกิดผลิตภัณฑ์เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนสายยาว สูงกว่ามีเทน จึงอาจกล่าวได้ว่า แลนทาเนียมออกไซต์อาจช่วยลดการเสื่อมสภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์บนตัวรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับปฏิกิริยาคาร์บอนมอนอกไซต์ไฮโดรจิเนชันth_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคาร์บอนมอนอกไซต์ไฮโดรจิเนชั่นth_TH
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์th_TH
dc.subjectเซอร์โคเนียมออกไซต์th_TH
dc.subjectแลทาเนียมออกไซต์th_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
dc.titleการเปรียบเทียบคุณลักษณะตัวเร่งปฏิกิริยาของโคบอลต์ออกไซต์ผสมเซอร์โคเนียมและแลนทาเนียมออกไซต์ที่ปริมาณแลนทาเนียมออกไซต์ต่ำth_TH
dc.typeงานวิจัยth_TH
dc.year2552
dc.description.abstractalternativeCO hydrogenation over cobalt catalysts supported on ZrO,-La,O, at La" content 0-25 mol% The present study focused on support modification for cobalt catalysts since it is one of the promising ways to improve catalytic activity and stability. The use of mixed oxide support between ZrO2 and La2O3 could provide the synergetic effect on catalyst properties due to the intrinsic nature of both ZrO2 and La203. Mechanically mixing ZrO2 and La2O3 was employed as support for cobalt catalyst at Lay content 1, 5, 10 and 25 mol%. The catalysts were characterized by X-ray diffraction (XRD), BET Surface area, Temperature programmed reduction (T PR) and Hydrogen chemisorption. The reduction behavior of catalysts was found to be retarded by increasing additional Lay content >5mol% in m-ZrO2 support and their hydrogen chemisorbed values were in the range of 1.95-2.95 X 10" moleculeslg cat which was lower than the value of cobalt talyst supported on m-ZrO, (6.69 X 10" moleculeslg cat). The catalysts were tested for CO hydrogenation prolonged to 6 h. The initial CH2 formation rates were found to be consistency with hydrogen chemisorption results and the rate within 6 h apparently decreased approximately 50% for Co/m-ZrO2 while as the rates over cobalt on support composed of Lag” 5-25 mol% decreased after 2-h testing and then they were slightly consistent during the left 4 h. The hydrogenation products selectively contained CH4 65mol% for Colm-ZrO, whereas the other catalysts preferably gave high faction of C2-C5+. lt would be noted that a presence of La2O3 (5-25 mol% Lag") in m-ZrO2 supports may retard the deactivation of catalytic active sites for CO hydrogenation.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น