กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1166
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสยาม ยิ้มศิริ
dc.contributor.authorกษิณะ นันทสว่าง
dc.contributor.authorบุรินทร์ โผนประสิทธิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:01:20Z
dc.date.available2019-03-25T09:01:20Z
dc.date.issued2550
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1166
dc.description.abstractโครงงานวิจัยและพัฒนานี้เป็นการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ความชื้นที่เหมาะสม (OMC) และความหนาแน่นแห้งสูงสุด กับค่า Atterberg Limit แล้วทำให้ทราบถึงเมื่อค่า Atterberg Limit มีผลกระทบต่อต่อความชื้นที่เหมาะสม(OMC) และความหนาแน่นแห้งสูงสุด ไม่ว่าจะพลังงานใดก็ตามโดยตัวแปรสำคัญและได้ทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่า (CBRomc +- CBRomc กับพลังงานที่ทำการบดอัด) แล้วได้ผลออกมาว่าพลังงานจะมีผลต่อดินเมื่อความชื้นมีค่าน้อยกว่าความชื้นที่เหมาะสมเท่านั้นและทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง (CBR.t/CBRomc) กับ (Wt-Womc) ได้ผลว่าเมื่อความชื้นเกินความชื้นที่เหมาะสมแล้วจะทำให้ CBR มีค่าเข้าหาศูนย์ ศึกษาแนวคิดของงานวิจัย อ.สุขสันต์ หอพิบูลสุข และ อ.รุ้งลาวัลย์ ราชัน (2548) เรื่องการทำนายกราฟบดอัดว่าจะสามารถใช้แล้วได้ผลที่ใกล้เคียงกับงานทดสอบของโครงงานซึ่งเมื่อเขียนออกมาแล้วได้กราฟที่สัดส่วนที่ใช้ในบางดินโดยเฉพาะดินที่มีลักษณะเป็นเม็ดละเอียดth_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดยทุนการวิจัยและพัฒนา คระวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectดินth_TH
dc.subjectพลังงานth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมบดอัดของดินที่ได้จากการบดอัดที่พลังงานในการบดอัดต่าง ๆth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2550
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research project are study to 1. Relation of moisture (OMC) and dry max with value of Atterberg limit then to get value of Atterberg limit by energy will be importanct parameter . 2. Study relation of (CBRomc +- CBRomc) with Compaction to get result is energy effect with soil when moisture less then moisture stabilization. 3. Study relation of (CBR.t/CBRomc) and (Wt-Womc) to get result is moisture more then moisture (OMC) will be CBR near to zero. 4. Study Tendency of Sooksan Horpiboon and Rungrawan Rasan about Compaction graph then compare result this project.Summarize is Tendency of Sooksan Horpiboon and Rungrawan Rasan use with some soil.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น