กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1160
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorปิยฉัตร ยิ้มศิริ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:01:20Z
dc.date.available2019-03-25T09:01:20Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1160
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาความเป็นไปได้ในการรนำกลับมาใช้ใหม่ของของเสียโพลีโพรพิลิน (Polypropylene, PP) และของเสียโพลิเอธทิลีน เทเรฟทาเลต (Polyethylene terephthalate, PET) โดยนำของเสียดังกล่าวมาผสมกับ โพลีเอธทีลีนที่มีความหนาแน่นสูง (high density polyethylene, HDPE) โพลิเอธทีลีนที่มีความหนาแน่นต่ำ สูง (Low density polyethylene, LDPE) และ PET เมื่อทำการศึกษาคุณสมบัติทั้งทางกลและทางกายภาพของโพลิเมอร์ผสม พบว่าเมื่อผสมของเสีย PP ลงใน HDPE จะไม่มีผลต่อคุณสมบัติเชิงกลมากนัก ยกเว้น PP จะทำให้ความเหนียวขอ HDPE มีค่าลดลงอย่างมาก แต่ในทางตรงกันข้าม เมื่อผสมของเสีย PP ลงใน LDPE ของผสมมีคุณสมบัติทางกลที่ดีขึ้น ได้แก่ ความแข็งแรง การทนต่อแรงดึง การทนต่อแรงดัดงอและความแข็ง ส่วนการผสมของเสีย PET ในอัตราส่วนโดยน้ำหนักในช่วง 0 – 0.3 ลงใน PET ไม่ทำให้คุณสมบัติทั้งทางกลและทางกายภาพเปลี่ยนแปลง จากผลการทดลองโดยรวมแสดงให้เห็นความเป็นไปได้ในการนำของเสีย PP และของเสีย PET กลับมาใช้ใหม่th_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดยทุนการวิจัยและพัฒนาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.subjectโพลีโพรพิลีน
dc.subjectคุณสมบัติเชิงกล
dc.titleการผสมของเสียโพลีโพรพิลีนกับโพลีเอทธิลีน และโพลีเอทธิลีน เตรทตระฟาเลตth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailpyimsiri@buu.ac.th
dc.year2549
dc.description.abstractalternativeThis research focused on the possibility of polypropylene (PP) and polyethylene terephalate (PET) wastes recycling. PP waste was mixed with high density polyethylene (HDPE) and low density polyethylene (LDPE) resins at difference weight ratio while PET waste was mixed with PET resin. The results showed that waste PP does not affect mechanical propenies of the blends of HDPE/PP except that HDPE stiffness decreases as the amount of PP increases. On the other hand, by blending PP into LDPE tensile strength, flexural strength, flexural modulus, including hardness are enhanced whereas the blends remain good toughness. The mechanical and physical properties of the blends of PET and waste PET are not altered in the range of waste PET weight fraction of 0-0.3. As a result, there is a potential for PP and PET waste recyclingen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น