กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1146
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปิยฉัตร ยิ้มศิริ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:01:19Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:01:19Z | |
dc.date.issued | 2548 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1146 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาเกี่ยวกับการนำกลับมาใช้ใหม่ของของเสียโพลิเอทีลีนความหนาแน่นสูง (High density polyethylene, HDPE) โดยคุณสมบัติที่ทำการศึกษาคือ คุณสมบัติเชิงกลทดสอบด้วย Tensile Tester และ Durometer คุณสมบัติเชิงความร้อนทดสอบด้วย Differential Scanning Calorimeter (DSC) และคุณสมบัติเชิง การไหลทดสอบด้วย Rheometer ซึ่งตัวแปรที่จะศึกษาคือ อัตราส่วนผสมระหว่างของเสียและเม็ดพลาสติก (Virgin HDPE) ผลการศึกษาพบว่า เมื่อปริมาณของเสียเพิ่มขึ้นคุณสมบัติเชิงกลและคุณสมบัติเชิงความร้อนเปลี่ยนแปลงไม่มากในขณะที่ความหนืดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามปริมาณ waste ที่อัตราส่วน virgin ต่อ waste เป็น 70/30 ค่า Tensile Strength และ %Elongation จะดีที่สุดอย่างเห็นได้ชัด ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากมีความเป็นผลึกค่อนข้างสูง | th_TH |
dc.description.sponsorship | สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.subject | คุณสมบัติเชิงกล | th_TH |
dc.title | คุณสมบัติการไหลและคุณสมบัติทางกลของโพลีเอทธีลีน โพลีเอทธีลีนที่ผ่านการขึ้นรูปแล้ว และโพลีเอทธีลีนผสม | th_TH |
dc.title.alternative | The rheological and mechanical properties of polyethylene, processed polyethylene, and their mixture | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | piyachat@buu.ac.th | |
dc.year | 2548 | |
dc.description.abstractalternative | This paper presents an experimental study of recycled high density polyethylene (HDPE). The mechanical properties, such as tensile strength and modulus, were measure using a tensile tester. Where as the plastic hardness was examined using a Durometer Shore D.A differential scanning calorimeter (DSC) was used to investigate thermal properties such as melting temperature (Tm) and %crystallinity. In addition the rheological characterization was carried out using 3 parallel-plate rheometer. The interested parameter was the composition ratio of virgin HDPE to waste HDPE. The results show that the composition ratio dose not significant effects on the mechanical and thermal properties while the polymer viscosity increases as me amount of waste HDPE increases. Nevertheless, it was found that the composition of virgin 10 waste of 100/0 and 70/30 have the highest tensile strength and %elongation. This might be due to the high crystallinity at those composition | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น