กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1142
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ
dc.contributor.authorโชติพันธุ์ ปนะทีปธีรานันต์
dc.contributor.authorประภัทร์ แดงเนียม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:01:19Z
dc.date.available2019-03-25T09:01:19Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1142
dc.description.abstractโครงการนี้ศึกษาและเปรียบเทียบกรรมวิธีการสังเคราะห์อะลูมินา โดยกรรมวิธี 1.โซลเจล, 2.โซล-ตกตะกอน โดยใช้อลูมิเนียมไนเตรตนอนไฮเดรต (Al (No3)3.9H2O) ละลายในเอทานอล 99.99% เป็นสารตั้งต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะของผลอลูมินาที่ 600 C และ 1150 C ก่อนการขึ้นรูป ได้แก่ ขนาดอนุภาค,ความหนาแน่น,เฟส,พื้นที่ผิวจำเพาะ และการกระจายตัวของรูพรุน ทดสอบโดยเครื่องมือวิเคราะห์ดังต่อไปนี้ SEM (Scanning Electron Microscope), Micro Pycnometer, X-ray diffraction และวิธีการ BET (Brunauer-Emmet-Teller Measurement) ตามลำดับ หลังจากนั้นผงอะลูมินาถูกนำขึ้นไปขึ้นรูป เพื่อทดสอบความหนาแน่นและวัดค่าความโปร่งใสโดยเครื่อง UV-visible spectroscopy จากการทดลองพบว่า ขนาดของอนุภาคเตรียมโดยทุกกรรมวิธีการให้ผลคล้ายคลึงกัน คือ มีขนาดอนุภาคโดยเฉลี่ย < 10 ไมโครเมตรหลังจากการเผาที่ 1150 C ให้เฟส a-Al2O3 และมีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 5.000-6.000 g/cm อะลูมินาเตรียมโดยกรรมวิธีเหล่านี้ เมื่อนำไปขึ้นรูปพบว่าไม่โปร่งใส มีความหนาแน่นอยู่ในช่วง 6.000-8.000 g/m จึงควรพัฒนากรรมวิธีการสังเคราะห์ เพื่อพัฒนาความใสของอะลูมินาต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดยทุนการวิจัยและพัฒนาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectโซลเจลth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการสังเคราะห์อลูมินาและโดปอลูมินาโดยวิธีการโซลเจลth_TH
dc.title.alternativeSynthesis of Alumina and doped alumina by Sol-gel methoden
dc.typeResearch
dc.year2549
dc.description.abstractalternativeAlumina preparation methods i.e. sol-gel method, sol-precipitation and precipitation, ware studied in this project by using aluminium nitrate nonahydrate dissolved in 99.99% ethanol as a starting material. A purpose of the project is to compare characteristic properties of all synthesized alumina fired at 600°C and 1150 C l.e. particle size distribution, bulk density, phase, specific surface area and pore size distribution. These properties were characterized by SEM (Scanning Electron Microscope), Micro Pyconometer, X-ray diffraction, and BET surface area measurement, respectively. Aluminapowder was fabricated after calcinations at 1150 C and transparency was identified by UV-visible spectroscopy. The particle slze of all alumina powder was on an average less than10 um. After high temperature calcinations,a-Phase was obtained for all alumina powder and density for all was in a rage of 5.000-6.000 g/cm. All fabricated alumina synthesizedvia the different methods were not transparent and their densities were in a range of 6.000-8_.O00 glcms. Hence, preparation method should be researched in further to improve a transparency of fabricated aluminaen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น