กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1139
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สยาม ยิ้มศิริ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:01:18Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:01:18Z | |
dc.date.issued | 2548 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1139 | |
dc.description.abstract | โครงการวิจัยและพัฒนานี้เป็นการพัฒนาเครื่องมือใหม่เพื่อให้ได้ triaxial apparatus ที่มีความสมบูรณ์ในด้านการวัดความเครียดในแนวตั้งเพื่อให้เหมาะกับการทดสอบขั้นสูง ฉะนั้นโครงการนี้จะกระทำในห้องปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร์ ของภาควิชาวิศวกรรมโยธาเป็นหลัก โดยระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนาสามารถแบ่งออกได้เป็นสามส่วนหลัก คือ (i) การพัฒนาด้าน hardware ซึ่งเป็นการพัฒนาระบบการวัดความเครียดในแนวตั้งให้สามารถวัดความเครียดขนาดเล็กได้แม่นยำขึ้น ซึ่งอุปกรณ์ที่จำเป็นจะได้จากการจัดซื้อ โดยจะมีอุปกรณ์สำคัญที่ต้องจดซื้อเพิ่มเติม คือ proximity transducer (ii) การพัฒนาด้วย software ซึ่งเป็นการพัฒนา software ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลการ transducer ตัวใหม่นี้ และ (iii) การทดลองในห้องปฏิบัติการ เพื่อศึกษาคุณสมบัติของระบบที่ได้พัฒนาขึ้นมาในด้าน calibration characteristic, resolution, และ stability | th_TH |
dc.description.sponsorship | สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ปฐพีกลศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | |
dc.title | การพัฒนา triaxial apparatus เพื่อการทดสอบ triaxial test ขั้นสูง : ด้านการวัดความเครียดในแนวตั้ง | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | ysiam@buu.ac.th | |
dc.year | 2548 | |
dc.description.abstractalternative | This research and development project aims to develop the existing conventional triaxial apparatus to be able to perform advanced triaxial test by concentrating on the development on local axial strain measurement system base on proximity transducer. The development pursued can be divided into 3 main parts (i) hardware development, (ii) software development, and (iii) study on calibration characteristic, resolution, and stability | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น