กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1131
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อุทัย ประสพชิงชนะ | |
dc.contributor.author | มัณฑนา รังสิโยภาส | |
dc.contributor.author | ดำรงณ์ เขจรสัตย์ | |
dc.contributor.author | ทรงพล เพิ่มทรัพย์ | |
dc.contributor.author | ทะนงเดช ประตี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:01:18Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:01:18Z | |
dc.date.issued | 2547 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1131 | |
dc.description.abstract | โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบสมรรถนะเครื่องปรับอากาศแบบอัดไอด้วยการทำความเย็นให้กับอากาศแบบระเหยน้ำที่คอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยอากาศ และได้ศึกษาถึงปัจจัยของความเร็วและอุณหภูมิกระเปาะแห้งของอากาศที่ผ่านคอนเดนเซอร์ โดยแบ่งการทดสอบออกเป็น 2 ขั้นตอน โดยขั้นตอนแรกเป็นการทดสอบสมรรถนะของเครื่องปรับอากาศแบบปกติ ส่วนขั้นตอนที่สอง เป็นการทดสอบสมรรถนะของเครื่องปรับอากาศโดยมีการติดตั้งชุดอุปกรณ์ทำความเย็นแบบระเหยน้ำให้กับอากาศที่คอนเดนเซอร์ด้วย โดยมีการปรับเปลี่ยนค่าความเร็วของอากาศเป็น 1.36,2,3,4,6.3 m/s ตามลำดับ สำหรับอุณหภูมิของอากาศก่อนผ่านเข้าชุดทดสอบที่คอนเดนเซอร์ ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมจะถูกควบคุมโดยใช้เครื่องทำความร้อน ซึ่งอุณหภูมิที่ทำการทดสอบมีค่าเป็น 30,35,40 C ตามลำดับ ในการทดสอบสมรรถนะจะพิจารณาจากค่า EER และค่า COP รวมของระบบซึ่งผลจากการทดสอบพบว่าเมื่อติดตั้งชุดอุปกรณ์ทำความเย็นให้กับอากาศแบบระเหยน้ำประกอบเข้ากับชุดคอนเดนซิ่งยูนิต โดยมีความเร็วของอากาศที่ผ่านคอนเดนเซอร์เป็น 1.36 m/s (ไม่เป็นพัดลมที่ชุดทำความเย็นให้กับอากาศ) จะช่วยให้ประหยัดพลังงานไฟฟ้าเมื่อเทียบกับกรณีที่เปิดเครื่องปรับอากาศปรกติ โดยมีค่า EER และ COP เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 6.89% สำหรับที่ความเร็วอื่นๆมีค่า EER และ COP เฉลี่ยต่ำกว่ากรณีเครื่องปรับอากาศปรกติ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ระบบระบายความร้อน | th_TH |
dc.subject | เครื่องปรับอากาศ | |
dc.subject | การทำความเย็น | |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | |
dc.title | การเพิ่มสมรรถนะเครื่องปรับอากาศแบบอัดไอด้วยการทำความเย็นแบบระเหยน้ำที่คอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยอากาศ | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | uthai@buu.ac.th | |
dc.author.email | montana@buu.ac.th | |
dc.year | 2547 | |
dc.description.abstractalternative | Research project is aims to evaluate the performances of a vapor-compression air conditioner by installing evaporative cooling of air in the condensing unit and study the effects the ambient air velocity and its temperature. The experiments are separated into two cases: Case 1 is a general performance testing. Case 2 is a testing which the equipment combines the evaporative pre-cooling set in the condensing unit. In case 2, the velocity of the ambient air 1.36,2,3,4 and 6.3 m/s which its temperatures are 30,35,40 C For performance testing EER and COP of the system for both cases are compared and the result shows that at the velocity of ambient air 1.36 m/s (fan of evaporative pre-cooling set is not operated), the system can save energy when comparing with case 1 and EER and COP (average) increases about 6.89%. For velocities, EER and COP (average) are lower than in case 1 | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
43050273.pdf | 4.57 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น