กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/105
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | รวีวรรณ อังคนุรักษ์พันธุ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:45:48Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:45:48Z | |
dc.date.issued | 2544 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/105 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ จุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการเปรียบเทียบรูปแบบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนสาธิต สังกัดทบวงวิทยาลัย ส่วนภูมิภาค ซึ่งได้แบ่งรูปแบบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ออกเป็น 6 แบบ ตามแนวทางของไรช์แมนและกราซา คือ แบบแข่งขัน แบบร่วมมือ แบบมีสัดส่วน แบบหลีกเลี่ยง แบบพึ่งพา และแบบอิสระ โดยศึกษาตามตัวแปรอิสระ คือ โรงเรียนและระดับชั้น การวิจัยครั้งนี้ เก็บรวบรวมข้อมูลกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยวิธีสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ส่วนภูมิภาค จำนวน 335 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบทดสอบวัดรูปแบบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยดัดแปลงมาจากแบบทดสอบวัดรูปแบบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของอรรถสิทธิ์ วชิรเมธี ตามแนวของไรช์แมนและกราซาแล้วหาความเชื่อมั่นที่มีต่าเม่ากับ 0.86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ปรากฏผลวิจัยดังนี้ 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยรวมชอบรูปแบบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์แบบร่วมมืออยู่ในระดับค่อยข้างสูง ชอบรูปแบบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์แบบมีส่วนร่วมแบบพึ่งพาอิสระและแบบอิสระอยู่ในระดับปานกลาง และชอบรูปแบบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์แบบแข่งขันและแบบหลีกเลี่ยงค่อนข้างต่ำ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่เรียนในโรงเรียนสาธิต 5 แห่ง มีรูปแบบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์แบบแข่งขัน แบบร่วมมือ แบบหลีกเลี่ยง แบบพึ่งพา และแบบอิสระ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) โดยนักเรียนที่เรียนอยู่ในโรงเรียนสาธิต 5 แห่ง ชอบรูปแบบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์แบบร่วมมือ มากกว่าแบบแข่งขัน แบบหลีกเลี่ยง แบบพึ่งพา และแบบอิสระ ส่วนแบบมีส่วนร่วมไม่แตกต่างกัน 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่เรียนระดับชั้นต่างกัน มีรูปแบบการเรียนวิชาคณิตศษสตร์แบบหลีกเลี่ยง แบบมีส่วนร่วม และแบบอิสระ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) โดยนักเรียนที่เรียนอยู่ในระดับชั้นต่างกัน ชอบรูปแบบการเรียนคณิตศาสตร์ แบบอิสระมากกว่าแบบมีส่วนร่วมและแบบหลีกเลี่ยง ส่วนแบบแข่งขัน แบบร่วมมือ และแบบพึ่งพาไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | คณิตศาสตร์ - - การศึกษาและการสอบ (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | โรงเรียนสาธิต | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | รูปแบบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิต สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ส่วนภูมิภาค | th_TH |
dc.title.alternative | Mathematicall learning styles of junior high school students in provincial demonstration schools under the ministry of University affairs | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2544 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study junior high school students' mathematical leaning styles in provincial demonstration schools under the Ministry of University Affairs. Riechman and Grasha classified the students' mathematical learning style into six categories:competitive, collaborative, avoidance, participatory, dependent, and independent. Independent variables for the study included schools and different class levels. The researcher selected 335 junior high school students who were attending provincial demonstration schools under the Ministry of University Affairs by using a stratified random sampling method. The researcher also developed two tests instruments to gather the data. The first was a mathematical learning style test based on Riechman and Grasha's student learning style scale, while the second was based on Attasit Vachirametee's test and had a reliability of 0.86 with an coefficient. Statistical mean, standard deviation, and analysis of variance were employed to analyze the data. It was found that: 1. The student in junior high school preferred to use the collaborative mathematical learning style at a high level, the paticipotary, dependent and independent mathematical learning styles at a moderate level, and the competitive and avoidance mathematical learning styles at a low lavel. 2. Junior high school students in different schools had different mathematical learning styles. Collaborative, avoidance, depandent and independent styles were significantly different. (p<.05) The student who studied in the five demonstration schools preferred to use collaboration more than the avoidance, department and independent learning style. However, competitive and participatory learning style did not show significant differences. 3. Junior high school student from different levels uesd the mathematical learning style of avoidance, participatory and independent were significantly different. (p<.05) The students from different levels preferred to use the independent learming style more than the participatory and avoidance style, but competitive, collaborative and department learning styles were not found to have significant differences. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2567_262.pdf | 2.52 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น