กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10277
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ฉัตรกมล สิงห์น้อย | - |
dc.contributor.author | อรวรีย์ อิงคเตชะ | - |
dc.contributor.author | สัญชัย เอียดปราบ | - |
dc.date.accessioned | 2023-10-24T03:05:03Z | - |
dc.date.available | 2023-10-24T03:05:03Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10277 | - |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อพัฒนาเครื่องวัดแรงบีบมือให้เป็นระบบดิจิตอลแล้วด้วยการจับคู่ สัญญาณแบบบลูทูธเพื่อแสดงผลการทำงานบนจอ และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องวัดแรงบีบมือให้เป็นระบบดิจิตอลแล้วด้วยการจับคู่สัญญาณแบบบลูทูธเพื่อแสดงผลการทำงานบนจอ ระยะที่ 1 สร้างเครื่องวัดแรงบีบมือให้เป็นระบบดิจิตอลแล้วด้วยการจับคู่สัญญาณแบบบลูทูธเพื่อแสดงผล การทำงานบนจอ ในระยะที่ 2 เป็นการทดสอบประสิทธิผลของเครื่องวัดแรงบีบมือให้เป็นระบบดิจิตอล ใช้การประมาณกลุ่มตัวอย่างครั้งนี้ใช้การคำนวณด้วยโปรแกรม G Power ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 71 คน (effect size = 0.05, alpha=0.05, power= 0.08) กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาที่มีอายุ ระหว่าง 18-22 ปี เพศชายจำนวน 41 คน และเพศหญิงจำนวน 30 คนที่มีสุขภาพดี และไม่มีการบาดเจ็บที่มือ หรือแขนอันเป็นอุปสรรคต่อการ การทดสอบการออกแรงบีบมือของเครื่องวัดแรงบีบมือให้เป็นระบบดิจิตอล แล้วด้วยการจับคู่สัญญาณแบบบลูทูธเพื่อแสดงผลการทำงานบนจอกับนิสิตที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจำนวน 10 คน โดยให้ออกแรงบีบด้วยมือที่ถนัดจำนวน 3 ครั้งแล้วนำผลที่ดีที่สุดมาบันทึก แล้วให้กลุ่มตัวอย่างพัก 1 วันก่อน ทำการบีบด้วยมือที่ถนัดจำนวน 3 ครั้งแล้วนำผลที่ดีที่สุดมาบันทึก แล้วคำนวณค่า R ได้เท่ากับ = 0.997 ผลการศึกษาพบว่าเครื่องวัดแรงบีบมือให้เป็นระบบดิจิตอลแล้วด้วยการจับคู่สัญญาณแบบบลูทูธเพื่อ แสดงผลการทำงานบนจอที่พัฒนาโดยวัดแรงบีบจากตัวต้านทานปรับค่าที่อยู่ภายในตัวเครื่องแล้วประมวลผล แรงบีบมาแสดงที่จอแสดงผลบนตัวเครื่อง ซึ่งการออกแบบอุปกรณ์ที่จะเพิ่มเข้ามาช่วยในการอ่านข้อมูลแรงบีบ มือจากเครื่องเดิมจะประกอบไปด้วย MCU ซึ่งทำหน้าที่ในการอ่านค่าแรงดันที่ผ่านตัวต้านทานปรับค่าได้ เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลที่ประมวลผลได้ไปยังแอพลิเคชันบนมือถือ ค่าที่บันทึกไว้ไปหาสมการจึงได้เป็นสมการ ดังนี้ แรงบีบ = (-0.037828730872245 x ค่าที่เฉลี่ยได้) + 133.454720198296 นอกจากนั้นการศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องวัดแรงบีบมือให้เป็นระบบดิจิตอลแล้วด้วย การจับคู่สัญญาณแบบบลูทูธเพื่อแสดงผลการทำงานบนแอพพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้นมาเปรียบเทียบกับเครื่องวัด แรงบีบมือมาตรฐานโดยใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 71 คน พบว่ามีสหสัมพันธ์ระดับสูง (r=.951) ซึ่งถือว่าเป็น เครื่องมือที่สามารถนำไปใช้ในการวัดแรงบีบมือต่อไปได้ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ | th_TH |
dc.subject | อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ | th_TH |
dc.subject | เทคโนโลยีบลูทูธ | th_TH |
dc.subject | เครื่องวัด - - การทดสอบ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาเครื่องวัดแรงบีบมือเป็นระบบดิจิตอลด้วยการจับคู่ แบบบลูทูธบนจอแสดงผลการทำงาน | th_TH |
dc.title.alternative | Developing a digital hand grip dynamometer with bluetooth pairing on the operation display | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | chatkamon@gmail.com | th_TH |
dc.author.email | onwaree@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | sanchaie@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2565 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research is to develop a digital hand compression force meter with Bluetooth pairing to display the results on the screen and to study efficiency and compare the performance of the hand compression force meter to a digital system by pairing the signal via Bluetooth to display the results on the screen. Phase 1 has created a digital hand compression meter by combine the Bluetooth pairing to display the results on the screen. In phase 2, it is a test of the effectiveness of the digital hand compression meter using the estimation of the sample. This time, it was calculated by using the G Power program. A total of 71 people (effect size = 0.05, alpha = 0.05, power = 0.08). The sample group was students in the Faculty of Sports Science, aged between 18-22 years old (41 men and 30 healthy females) and there were no injuries to the hands or arms that hindered the experiment. The hand compression test of the hand compression tester has been digitalized by pairing the signal via Bluetooth to display the results on the screen with 10 non-sample students. 3 times and bring the best results to record. The samples were then rested for 1 day before squeezing with their dominant hand 3 times, recording the best results and calculating the R = 0.997. The results showed that a digital hand grip dynamometer with Bluetooth pairing on the operation display on the screen developed by measuring the compression force from the adjustable resistor inside the device and processing it. The force of compression is shown on the display on the device. The design of the device that will be added to assist in reading the compression force data from the original device will consist of an MCU which serves to read the voltage through a variable resistor to be able to send the processed data to the mobile application. The recorded values go to the equation, so the equation is as follows: Squeeze force = (-0.037828730872245 x averaged value) + 133.454720198296 In addition, the study of the performance of a digital hand grip dynamometer with Bluetooth pairing on the operation display on the developed application compared to the device. The standard hand compression force was measured using a sample of 71 people. It was found that there was a high correlation (r=.951), which was considered a tool that could be used to measure the compression force further. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2567_056.pdf | 2.5 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น