กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1022
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิภูษิต มัณฑะจิตร
dc.contributor.authorกิติธร สรรพานิช
dc.contributor.authorสุเมตต์ ปุจฉาการ
dc.contributor.authorวาสนา พุ่มบัว
dc.contributor.authorวรรณวิภา ชอบรัมย์
dc.contributor.authorสุรินทร์ มัจฉาชีพ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T09:01:12Z
dc.date.available2019-03-25T09:01:12Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1022
dc.description.abstractคณะผู้วิจัยได้ทำการสำรวจฟองน้ำทะเล เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชนิดและการแพร่กระจายในระบบนิเวศ ชายฝั่งทะเลบริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข้ และกลุ่มเจาะจวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี รวมทั้งหมด 6 ครัั้ง ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2550 ถึงเดือน กันยายน 2551 รวมทั้งสิ้น 23 สถานีตำรวจ โดยการดำน้ำแบบเครื่องช่วยหายใจใต้น้ำ (SCUBA diving) ในเวลากลางวัน สุ่มตลอดพื้นที่สำรวจ พบฟองน้ำทั้งสิ้น 67 ชนิด จาก 40 สกุล 32 วงศ์ และ 11 อันดับ ในจำนวนนี้พบฟองน้ำที่ยังไม่มีรายงานในน่านน้ำไทย จำนวน 4 ชนิด ได้แก่ (Cliona utriculara Calcinai, Bareestrello & Cerrano 2005, Timea aurantiaca (Bergguist, 1968), Diplastrella sp., และ Clathria (Thalysias) tingens (Hooper, 1996) และฟองน้ำที่ยังไม่มีรายงานว่าพบในพื้นที่่แสมสาร จำนวน 11 ชนิด ฟองน้ำที่พบแพร่กระจายอยู่ทั่วไปตลอดพื้นที่ ได้แก่ Xestospongia testudinaria, lotrochota baculifera รองลงมาคือ Monanchora unguiculata, Oceanapia sagittaria และ Neopetrosia sp. ซึ่งฟองน้ำเหล่านี้เป็นฟองน้ำที่พบได้ทั่วไปในบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออกและเขตอินโดแปซิฟิค กลุ่มของฟองน้ำที่พบมากที่สุดคือ อันดับ Poecilosclerida พบ 21 ชนิด รองลงมาคือ อันดับ Haplosclerida 17 ชนิด บริเวณที่พบฟองน้ำมากที่สุดคือ บริเวณเกาะจระเข้ พบ 33 ชนิด รองลงมาคือ หาดนางรอง 27 ชนิด เกาะจาน 25 ชนิด เกาะจวง 23 ชนิด สรุปขณะนี้พบฟองน้ำในเขตหมู่เกาะแสมสารและพื้นที่ใกล้เคียง 75 ชนิดth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectฟองน้ำทะเลth_TH
dc.subjectระบบนิเวศชายฝั่งทะเลth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleความหลากหลายของชนิดฟองน้ำทะเลบริเวณ หาดนางรอง เกาะจระเข้ และกลุ่มเกาะจวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeSpecies diversity of marinw sponges along had nang-rong, jorake lsland and Chaung lslands, Sattahip, Chon-buri province Thailanden
dc.typeResearchth_TH
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeSpecies diversity of marine sponges had been investigated along the Hadnang-rong, Jorake lsland and Chaung lslands, Sattahip, Chon-Buri Province, Thailand. The collections were conducted 6 times during Nivember, 2007 to September, 2008 including 23 sites by using SCUBA diving during daytime, randomly throughout collection sites. The results yield 67 species of Demospongiae, from 11 orders, 32 families and 40 genera. Out of these, four species were new recorded inThai Waters. namely Clions utriculara Calcinai, Bareestrello & Cerrano 2005, Timea aurantiaca (Bergguist, 1968), Diplastrella sp., Clathria (Thalysias) tingens (Hooper, 1996) ans eleven species were new recorded for Samaesarn area. The most widely distribution species throughout the study area were as follow Xestospongia testudinaria, lotrochota baculifera, Monanchora unguiculata, Oceanapia sagittaria, Neopetrosia sp. respectively. These species were also commonly found in Gulf of Thailand and the Indo-west Pacificregion. The most abundant sponge groups in the area were Poecilosclerida (21 species) and Haplosclerida (17 species). The most diversity of sponges in the atudy area was Jorake Lsland (33 species) follow by Had Nang-rong (27 species), Chang island (25 species), Chuang island (23 species) respectively. In addition, 75 species of marine sponges were recorded as updated species lis along- Samae-sarn islands and adjacent area.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น