กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10200
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorชลี ไพบูลย์กิจกุล
dc.contributor.advisorเบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล
dc.contributor.authorจิดาภา กล้ากสิกิจ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเทคโนโลยีทางทะเล
dc.date.accessioned2023-09-18T07:56:43Z
dc.date.available2023-09-18T07:56:43Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10200
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการศึกษาแนวทางการจัดส่งชิ้นส่วนสำหรับสายการประกอบรถแทรคเตอร์ระหว่างวิธีการจัดส่งแบบพาเล็ทและการจัดส่งแบบคิตติ้ง เพื่อกำหนดแนวทางการจัดส่งที่เหมาะสามเพื่อลดปัญหาด้านเวลาการจัดส่ง คุณภาพ และพื้นที่จัดวางไม่เพียงพอ ผลการศึกษาพบว่า ดัชนีด้านเวลาการจัดส่ง การสูญเสียเวลาจากปัญหาคุณภาพ และพื้นที่ไม่เพียงพอมีค่าเท่ากับ 3,698.49 นาที ต่อคัน, 84.66 นาทีต่อคัน 24.2 ตารางเมตร และ 2,149.29 นาทีต่อคัน, 0 นาทีต่อคัน 0 ตารางเมตร สำหรับวิธีการจัดส่งแบบพาเล็ทและแบบคิตติ้ง ตามลำดับ และยังพบว่า การจัดส่งชิ้นส่วนด้วยวิธี อย่างใดอย่างหนึ่งไม่สามารถรองรับความต้องการ การจัดส่งชิ้นส่วนจากฝ่ายคลังสินค้าไปยังสายการประกอบได้อย่างมีประสิทธิภาพดังนั้น จึงได้ออกแบบแนวทางการจัดส่งแบบผสม โดยใช้วิธีติตติ้งกับชิ้นส่วนขนาดเล็ก จำนวน 2,089 รายการ และใช้วิธีพาเล็ทกับชิ้นส่วนขนาดใหญ่ จำนวน 17 รายการ ซึ่งส่งผลให้เวลาการจัดส่วนลดลงเหลือ 1,549.2 นาทีต่อคัน โดยไม่ไม่ปัญหาคุณภาพและพื้นที่การจัดวางแต่อย่างใด
dc.language.isoth
dc.publisherคณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectหญ้าทะเล -- ไทย -- ตราด
dc.subjectแพลงก์ตอนพืช -- ไทย -- ตราด
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีทางทะเล
dc.titleการเปลี่ยนแปลงชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอนพืชที่สัมพันธ์กับแหล่งวางหญ้าทะเลเทียมบริเวณชายฝั่ง ตำบลไม้รูด จังหวัดตราด
dc.title.alternativeDynmics of genus nd mount of phytoplnkton ssocited with rtificil segrss sources t the costl re of mi rood subdistrict, trt province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research increase an efficiency of material supply for a tractor assembly line by dedicate problem and index to working’s evaluate. Moreover analysis and exhibit way increase material supply acidity. The result of case study, the current method supply material to a assembly line either pallet’s method or KITTING’s method could not respond material request from warehouse to the line by high capacity from various index such time quality and space dedicated. Additional the result of analysis, we can consolidate both pallet method and KITTING method for solve any problem by significance. We bring both lean method and Kaizen method to follow the problem and analyst problem by each problem.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางทะเล
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์(Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
61910004.pdf2.28 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น