กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10180
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorบรรหาร ลิลา
dc.contributor.authorนฤมล แก้วมณี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะโลจิสติกส์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:54:11Z
dc.date.available2023-09-18T07:54:11Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10180
dc.descriptionงานนิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractงานวิจัยนี้นำเสนอการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการจัดเก็บและกระจายพัสดุของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 1 (ภาคใต้) จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งเป็นหน่วยงานจัดการสั่งซื้อพัสดุเพื่อใช้ในงานของการไฟฟ้าเขตต่าง ๆ จำนวน 52 แห่งครอบคลุม 6 จังหวัด ได้แก่ สมุทรสงคราม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพรและระนอง ทำการศึกษาเปรียบเทียบการจัดเก็บและกระจายพัสดุ ระหว่างแบบกึ่งรวมศูนย์กลาง ซึ่งเป็นรูปแบบที่ใช้ในปัจจุบันมีการจัดเก็บที่คลังพัสดุ 4 แห่ง ก่อนกระจายไปยังหน่วยงานผู้ใช้กับแบบรวมศูนย์กลาง ซึ่งเป็นรูปแบบที่นำเสนอให้นำพัสดุที่จัดซื้อทั้งหมดถูกจัดเก็บไว้ที่คลังพัสดุที่ถูกเลือกจากการวิเคราะห์ด้วยวิธีจุดศูนย์แห่งเดียวการประเมินผลใช้เกณฑ์ระยะทางรวมจากผู้ขายมาที่คลังพัสดุและระยะทางจากคลังพัสดุถึงผู้ใช้งาน และระยะเวลา สำหรับกระบวนการจัดการด้านการสั่งซื้อและการเตรียมพัสดุผลการศึกษาบ่งชี้ว่าควรกำหนดคลังพัสดุการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์เป็นคลังศูนย์กลางสำหรับรูปแบบการจัดเก็บและกระจายพัสดุแบบรวมศูนย์กลางและจากข้อมูลจริงของภาระงานการจัดเก็บ และการกระจายพัสดุของปีพ.ศ. 2562 พบว่ารูปแบบการจัดเก็บและกระจายพัสดุการรวมศูนย์กลาง จะส่งผลให้ระยะทางรวมลดลงจาก 52,929.47 กิโลเมตรเหลือ 36,147 กิโลเมตรต่อปีหรือลดลง ร้อยละ 31.71 และระยะเวลาสำหรับกระบวนการจัดการด้านการสั่งซื้อและการเตรียมพัสดุลดลงจาก 41 วัน เหลือ 34 วัน หรือลดลงร้อยละ 17.07 จึงสรุปได้ว่ารูปแบบการจัดเก็บและกระจายพัสดุแบบรวมศูนย์กลางเป็นรูปแบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพมากกว่ารูปแบบกึ่งรวมศูนย์กลางเมื่อพิจารณาจากเกณฑ์ระยะทางการขนส่งและระยะเวลาในการเตรียมความพร้อมของพัสดุดังนั้นจึงควรนำเสนอเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในด้านอื่น ๆ ต่อไป
dc.language.isoth
dc.publisherคณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectพัสดุ
dc.subjectการจัดเก็บเอกสาร
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการจัดเก็บและกระจายพัสดุ : กรณีศึกษา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 1 (ภาคใต้) จังหวัดเพชรบุรี
dc.title.alternativeComprtive study on the storge nd distribution:cse study of provincil electricity uthority re 1 (south) phetchburi province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research presents a comparative study of the storage and distribution methods between the semi-centralized and the centralized warehouses for the Provincial Electricity Authority Area 1 (south) Phetchburi province, (PEAS1). The PEAS1 is responsible for purchasing materials in response to all requests of 52 units of other PEA’s located in Samut Songkhram, Ratchaburi, Phetchaburi, Prachuap Khiri Khan, Chumphon, Ranong provinces. The Semi-Centralized Warehouse is the method being implemented by the PEAS1, all materials are brought to store at 4 designated warehouses before distributing to the site of the PEA who requested them. The Centralized method with a Center-of-Gravity based selected warehouse for storing all purchasing materials was proposed in this research. The total transportation distance from suppliers to warehouse(s) and from warehouse(s) to all the sites that requested materials and the processing time required for preparation of materials were considered. As a result, the warehouse of the PEA at Hua Hin’s was selected as the storage and distribution center for the centralized method. Based on the actual workload for storage and distribution of materials in 2019, which was found that the centralized warehouse method would have led to a decrement of the total distance from 52,929.47 to 36,147 kilometers or 31.71% reduction with a decrement of the preparation time of material from 41 to 34 days or 17.07 % of reduction. Thus, it can be concluded that the centralized warehouse method can lead to significantly better management efficiency based on the two criteria considered in the study. Therefore, further feasibility study considering other criteria is suggested.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
61920089.pdf2.07 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น