กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10156
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorวัลลภ ใจดี
dc.contributor.authorมัณฑนา อุนาริเณ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:54:05Z
dc.date.available2023-09-18T07:54:05Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10156
dc.descriptionงานนิพนธ์ (ส.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการเห็นคุณค่าตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของสตรีวัยทองอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีที่มีอายุระหว่าง 40-59 ปี จำนวน 368 คน ที่ถูกสุ่มด้วยการสุ่มแบบชั้น (Stratified random sampling) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่มีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคในด้านการเห็นคุณค่าตนเอง เท่ากับ 0.89 และด้านพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของสตรีวัยทอง เท่ากับ 0.61 วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์อิทธิพลของการเห็นคุณค่าตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของสตรีวัยทองด้วยสถิติการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นแบบพหุคูณ (Multiple linear regression) ผลการศึกษาพบว่าการเห็นคุณค่าตนเองของสตรีวัยทอง (ร้อยละ 74.2 ) และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของสตรีวัยทอง (ร้อยละ 69.8) อยู่ในระดับปานกลางและพบว่าการเห็นคุณค่าตนเองมีอิทธิพลทางบวกต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของสตรีวัยทอง (Badj= 0.361 ; 95% CI : 0.270, 0.451) โดยมีตัวแปรอาชีพ สถานภาพ และระดับการศึกษา เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลร่วมต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของสตรีวัยทอง (R2 = 26.5%, adjusted R2 = 25.7) ดังนั้น จึงควรส่งเสริมให้สตรีวัยทองมีการเห็นคุณค่าตนเองมากขึ้นเพื่อนำไปสู่การมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตลอดจนมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
dc.language.isoth
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectสตรี -- สุขภาพและอนามัย
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.subjectสตรี -- การดูแลและสุขวิทยา
dc.titleการเห็นคุณค่าตนเองที่มีผลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของสตรีวัยทอง อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง
dc.title.alternativeSelf-esteem on helth behviors of menopusl women in pluk deng district, ryong province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine self-esteem, health behavior and factors Influencing health behavior of menopausal women in Pluak Daeng District, Rayong Province. Sample were 368 and 40-59 years old, selected through Stratified random sampling. The instrument use for data collection were a questionnaire. The Cronbach's alpha coefficient of selfestreem questionnaire was 0.89. And the Cronbach's alpha coefficient of health behaviors questionnaire was 0.61. The questionnaire was collected by giving to menopausal in women. And collect back immediately when the answer is complete. Data were analyzed in terms Percentage, mean, Standard deviation, The influence of self-esteem on health behavior of menopausal waomen wae analyzed by multiple linear regression. The results of the study showed that The self-esteem among menopausal women (74.2%) and overall health behaviors (69.8%) were moderate. Self-esteem positively influences health behavior of menopausal women (Badj= 0.361 ; 95% CI : 0.270, 0.451). Occupation, marital status and education It is a co-influencing factor on health care behavior of menopausal women. (R2 = 26.5%, adjusted R2 = 25.7) Therefore, menopausal women should be promoted to have greater self-esteem in order to lead to health behaviors as well as having good health and quality of life.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineคณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59920442.pdf5.51 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น