กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10154
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorวัลลภ ใจดี
dc.contributor.authorนริศรินทร์ วังใน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:54:05Z
dc.date.available2023-09-18T07:54:05Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10154
dc.descriptionงานนิพนธ์ (ส.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และทัศนคติกับพฤติกรรมของมารดาในการป้องกันโรคมือเท้า ปากให้บุตรที่เป็นนักเรียนโรงเรียนอินเตอร์ทอทส์ ไตรลิงกวล อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรากลุ่มตัวอย่างเป็นมารดา 200 คน ข้อมูลเก็บโดยใช้แบบสอบถามที่ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ ข้อมูลส่วนบุคคลความรู้ในการป้องกันโรคมือเท้า ปาก ทัศนคติในการป้องกัน โรคมือเท้า ปากและพฤติกรรมการป้องกันโรคมือเท้า ปาก ข้อมูลวิเคราะห์ด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติเชิงถดถอยเส้นแบบพหุคูณ (Multiple Linear Regressions) ผลการศึกษาพบว่า มารดา มีคะแนนความรู้ในการป้องกันโรคมือเท้า ปาก เฉลี่ย 27.9 (S.D. 3.03) คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 90.5 และมีคะแนนทัศนคติในการป้องกันโรค มือเท้า ปาก เฉลี่ย 37.5 (S.D. 4.12) ปานกลางร้อยละ66.5 และมีคะแนนพฤติกรรมในการป้องกันโรคมือเท้า ปาก เฉลี่ย 35.7 (S.D. 3.22) ซึ่งอยู่ในระดับดีมากร้อยละ 83.5 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติถอดถอยเชิงเส้นแบบพหุคูณ พบว่า ความรู้ในการป้องกันโรคมือเท้า ปากการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่า และอายุมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคมือเท้า ปากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยความรู้ในการป้องกันโรคมือเท้า ปาก มีอิทธิพลทางบวกกับพฤติกรรม (badj = 0.230; 95% CI = 0.103, 0.358) อายุ (badj= 0.473;95% CI = -0.585, -0.362) และการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่า (badj= - 0.859; 95% CI = -1.552, -0.165) มีอิทธิพลทางลบกับพฤติกรรมการป้องกันโรคมือเท้า ปากจึงควรส่งเสริมให้มารดาได้รับ ความรู้ได้รับข่าวสารและกระตุ้นเตือนอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้เกิดพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโรคมือเท้า ปากและเป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วยลดการระบาดได้
dc.language.isoth
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.subjectปาก -- โรค
dc.subjectเท้า -- โรค
dc.subjectมือ -- โรค
dc.subjectโรค -- การป้องกันและควบคุม
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และทัศนคติกับพฤติกรรมของมารดาในการป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ให้บุตรที่เรียนโรงเรียนอินเตอร์ทอทส์ ไตรลิงกวล อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา
dc.title.alternativeReltionship between knowledge nd ttitudes with behviors of mothers in prevention on hnd foot mouth disese of young children in intertots trilingul school, mung districe, chchoengso province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was studied to explore the relationship between knowledge, attitude and behavior of mothers who prevent Hand Foot Mouth Disease of young children in Intertots Trilingual school, Muang, Chachoengsao. The sample was 200 mothers, data was collected using a questionnaire consisting of 4 parts: personal information, knowledge of prevention of Hand Foot Mouth Disease, attitude to prevention of Hand Foot Mouth Disease, analysis with percentage, average, standard deviation and relationship analysis with multiple linear regressions statistics. The results showed that mothers had good knowledge of disease prevention, 90.5 and 27.9 (S.D. 3.03), had a moderate attitude of disease prevention 66.5 and 37.5 (S.D. 4.12) and a behavior of disease prevention 83.5 and 35.7 (S.D. 3.22). Relationship analysis results with multiple linear retreat statistics It was found that knowledge of the prevention of Hand Foot Mouth Disease, bachelor's degree or higher, and age. Statistically significantly correlated with Hand Foot Mouth Disease prevention behavior at 0.05, with knowledge of preventing Hand Foot Mouth Disease, positive influence on behavior (badj= 0.230; 95% CI = 0.103, 0.358) age (badj = 0.473; 95% CI = -0.585, -0.362) and Bachelor’s degree or Postgraduate (badj= -0.859, 95% CI = -1.552, -0.165) has a negative influence on the behavior of preventing Hand Foot Mouth Disease, so mothers should be encouraged to receive knowledge, receive news and regularly provoke to achieve anti-infection behavior. It is one of the ways to reduce outbreaks of Hand Foot Mouth Disease
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineคณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59920440.pdf4.55 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น