กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10137
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธัญภัส เมืองปัน | |
dc.contributor.author | เฌอร์รฎา คุ้มถนอม | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะโลจิสติกส์ | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:54:00Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:54:00Z | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10137 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการศึกษาปริมาณการสั่งซื้อวัตถุดิบหลักที่เหมาะสม กรณีศึกษา บริษัท ผลิตเหล็กแท่งและเหล็กเส้นก่อสร้าง เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมของวัตถุดิบหลักภายในประเทศของบริษัทกรณีศึกษาและเพื่อเปรียบเทียบต้นทุนการสั่งซื้อวัตถุดิบหลักก่อนและหลังทำการวิเคราะห์ปริมาณการสั่งซื้อวัตถุดิบหลักที่เหมาะสมของบริษัทกรณีศึกษาผู้วิจัยทำการจัดลำดับ กลุ่มความสำคัญของวัตถุดิบ โดยใช้มูลค่าของยอดสั่งซื้อสินค้าของบริษัทกรณีศึกษาย้อนหลังตั้งแต่เดือนมกราคม-เดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 เป็นเกณฑ์ด้วยวิธี ABC Analysis ทำให้สามารถแบ่งกลุ่มวัตถุดิบภายในประเทศทั้งหมด 24 รายการออกเป็น 3 กลุ่ม คือ วัตถุดิบกลุ่ม A วัตถุดิบกลุ่ม B และวัตถุดิบกลุ่ม C ตามลำดับ โดย พบว่าวัตถุดิบกลุ่ม A มีจำนวน 5 รายการ ซึ่งมีมูลค่าสูงสุด 34,358,106 บาทต่อปีคิดเป็นร้อยละ 70 ของมูลค่าวัตถุดิบทั้งหมดในรอบปีซึ่งจัดเป็นวัตถุดิบกลุ่มที่มีความสำคัญมากที่สุด และได้นำแนวคิดการสั่งซื้อแบบประหยัด (Economic order quantity) และการหาจุดสั่งซื้อใหม่ (Reorder point) มาประยุกต์ใช้กับการสั่งซื้อวัตถุดิบกลุ่ม A จากนั้นทำการเปรียบเทียบต้นทุนรวมในการสั่งซื้อจากผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ) สามารถลดต้นทุนรวมในการบริหารสินค้าคงคลังได้ถึง 378,181.84 บาทต่อปีคิดเป็นร้อยละ 49.95 และมีความถี่ในการสั่งซื้อลดลง 23 ครั้งต่อปีคิดเป็นร้อยละ 16.78 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | วัตถุดิบ | |
dc.subject | การจัดซื้อ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน | |
dc.title | ปริมาณการสั่งซื้อวัตถุดิบหลักที่เหมาะสม กรณีศึกษา บริษัทผลิตเหล็กแท่งและเหล็กเส้นก่อสร้าง | |
dc.title.alternative | Economic order quntity of rw mteril: cse study of steel producing compny | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research is to study the economic order quantity of raw material: a case study of steel producing company. The purposes of this quantitative research aim to analysis of raw material ordering with Economic Order Quantity and to compare of the total cost before and after applying EOQ. ABC analysis is applied to classify the priority of domestic raw material based on the order value from January to December 2019. Twenty-four items of the domestic raw material can be divided into 3 groups; A, B, and C respectively. There are 5 items of group A which is the highest value 34,358,106 baht per year or 70% of the total raw material value in the year. The Economic Order Quantity (EOQ) model and Reorder point (ROP) are applied to order raw material for group A and compare the total cost. The result shows that the total cost can be reduced to 378,181.84 baht per year or 49.95% and the ordering frequency can be reduced to 23 times per year or 16.78%. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
62920061.pdf | 5.64 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น