กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10055
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorณัฐภัทร พัฒนา
dc.contributor.authorปุญญิสา จันทร์สิงห์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:51:04Z
dc.date.available2023-09-18T07:51:04Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10055
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractคำขวัญ (Slogan) จะเป็นภาษาที่มีลักษณะเฉพาะและมีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้ผลิตโฆษณา เนื่องจากคำขวัญจัดเป็นโครงสร้างส่วนที่รวมความคิดรวบยอดสินค้า มีความสั้นกระชับ มักอยู่อันดับแรกหรือเป็นสิ่งที่เห็นได้ในตอนสุดท้าย การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการใช้จุดจูงใจในสารที่ปรากฏในคำขวัญโฆษณาสายการบินในระหว่าง 2 ทศวรรษ คือ ระหว่าง ค.ศ. 2000-2009 และ ค.ศ. 2010-2019 กลุ่มตัวอย่างใช้ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย คำขวัญโฆษณาสายการบินที่ได้รับการจัดอันดับให้อยู่ใน 100 สายการบินที่ดีที่สุดประจำปี พ.ศ. 2562 ขององค์กรสกายแทร็กซ์ (Skytrax) ในระหว่าง ค.ศ. 2000-2019 จำนวน 168 คำขวัญ โดยใช้แนวคิดการแบ่งประเภทของจุดจูงใจในสารของ Kotler and Keller (2008) ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่ จุดจูงใจด้านเหตุผล (Rational appeal) และจุดจูงใจด้านอารมณ์ (Emotional appeal) ผลการวิจัยพบว่า จุดจูงใจที่ปรากฏในคำขวัญสายการบินในระหว่าง 2 ทศวรรษ ในภาพรวมพบว่า มีการใช้จุดจูงใจด้านอารมณ์มากกว่าจุดจูงใจด้านเหตุผล โดยจุดจูงใจด้านอารมณ์ที่ปรากฎใน ค.ศ. 2000-2009 คิดเป็น 80.6% ซึ่งน้อยกว่าใน ค.ศ. 2010-2019 ซึ่งคิดเป็น 84%
dc.language.isoth
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectคำขวัญ
dc.subjectคำและวลี
dc.subjectโฆษณา -- การเขียน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
dc.titleการวิเคราะห์จุดจูงใจในสารที่ปรากฎในคำขวัญสายการบิน
dc.title.alternativeAn nlysis of messge ppels in irline slogns
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeAs a unique language with a purpose to meets the demand of advertisers, slogans are considered an integrated an integrated structural concept of a product with short and concise phrases frequently used to create customer awareness at first glance or in final content. The objective of this research was to conduct the anslysis of acvertising appeals in airline advertising slogans during 2 decades (between 2000-20009 and 2010-2019). The sample consisted of 168 advertising slogans of the airlines under the world’s best 100 airlines for 2019 ranked by Skytrax during 2 decades. This research was based on Kotler and Keller’s message appeal concept, which was divided into two main categories: rational appeal and emotional appeal. Data analysis was presented in descriptive anslysis. Statistics used for data analysis were frequency and percentage. The results of studying advertising appeals found in airline advertising slogans during 2 decades revealed that overall, more emotional appeals were used in advertising slogans than rational appeals. The proportion of emotional appeals found in advertising slogans between 2000-2009 was 80.6% which was less than the found between 2010-2019 at 84%.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
58920779.pdf3 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น