กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10054
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณัฐภัทร พัฒนา | |
dc.contributor.author | พิสินี เจียมสถิตย์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:51:04Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:51:04Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10054 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่องกลวิธีการแปลหน่วยสร้างประโยคเน้นส่วนในพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างหน่วยเน้นส่วนในภาษาอังกฤษที่ผู้แปลเลือกใช้แทนโครงสร้างหน่วยเน้นส่วนชนิดต่าง ๆ ในภาษาไทย และเพื่อศึกษากลวิธีการแปลหน่วยสร้างเน้นส่วนชนิดต่าง ๆ จากต้นฉบับภาษาไทยเป็นฉบับแปลภาษาอังกฤษที่ปรากฏอยู่ในพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 ฉบับตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2563 จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สูตรไพศาล ผลการวิจัยพบว่า ในการแปลหน่วยสร้างเน้นส่วนในตัวบทพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษนั้น โดยทั่วไปพบว่า ผู้แปลใช้กลวิธีการแปลหลัก 3 กลวิธี ได้แก่ 1. การแปลแบบเสรี โดยไม่จำกัดอยู่ที่หน่วยสร้างชนิดใด พบในอัตราส่วนร้อยละ 39.17 2. การแปลแบบตรงตัวโดยใช้หน่วยสร้างเน้นส่วนที่เป็นชนิดเดียวกันกับภาษาต้นฉบับมาเป็นคู่เทียบ พบในอัตราส่วนร้อยละ 36.66 และ 3. การแปลแบบสื่อความโดยใช้หน่วยสร้างเน้นส่วนด้วยกันแต่ไม่จำกัดชนิดในภาษาอังกฤษมาเป็นคู่แปลพบในอัตราส่วนร้อยละ 24.17 และมีการใช้หน่วยสร้างเน้นส่วนทั้งหมด 4 ชนิดที่ปรากฎพบโดยเฉลี่ยในภาษาฉบับแปล โดยหน่วยสร้างเน้นส่วนรูปแบบ Passive construction ปรากฏมากที่สุด พบในอัตราส่วนร้อยละ 46.57 รองลงมาคือ หน่วยสร้างเน้นส่วนรูปแบบ Fronting/ Y-movement Construction พบในอัตราส่วนร้อยละ 24.66 และหน่วยสร้างเน้นส่วน Cleft Construction พบในอัตราส่วนร้อยละ 6.85 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ภาษาไทย -- การแปล | |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- การแปล | |
dc.subject | ภาษาไทย -- การแปลเป็นภาษาอังกฤษ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | |
dc.title | กลวิธีการแปลหน่วยสร้างประโยคเน้นส่วนในพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ | |
dc.title.alternative | Trnsltion strtegies of focus clusl constructions in the immigrtion ct from thi into english | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to investigate focus clausal constructions in which a translator selected in translating Thai focus sentences to English and to study translation strategies of focus clausal constructions from Thai into English in Immigration Act, B.E. 2522 (1979), published in 2020 by Soutpaisal Law publisher. The results of this study indicated that in translating focus clausal contructions in Immigration Act, B.E. 2522 (1979) from Thai to English, three main translation strategies were employed by the translator, namely; 1. free translation in which sentence structures in the target language are not limited to any particular ones by 39.17 percent; 2. Faithrul translation in which sentence structures in the target language are limited to only corresponding focus constructions by 36.66 percent; and 3. Communicative translation in which sentence structures in the target language are limited to only focus constructions by 24.17 percent, respectively. There were four forms of focus clausal constructions found in translated texts. The most commonly found construction form was Passive Construction at 46.57 percent, followed by Fronting/ Y-movement Construction at 24.66 percent, and Cleft Construction at 6.85 percent, respectively. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
58920284.pdf | 6.13 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น