กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10017
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorพรนภา หอมสินธุ์
dc.contributor.advisorรุ่งรัตน์ ศรีสุริยเวศน์
dc.contributor.authorมลฤดี แก้วสีโส
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:43:56Z
dc.date.available2023-09-18T07:43:56Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10017
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการมีพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นเพิ่มสูงขึ้น ทั้งการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์การสูบบุหรี่ การมีเพศสัมพันธ์ และการใช้ความรุนแรงกลายเป็นปัญหาที่สำคัญทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญในสังคมไทย การศึกษานี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพหุพฤติกรรมเสี่ยง และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพหุพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นชายจังหวัดลพบุรี โดยใช้ทฤษฎีอิทธิพลสามารถสามทางเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นชายที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดลพบุรี จำนวน 318 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามชนิดเลือกตอบด้วยตนเอง ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล (อายุ, ระดับการศึกษาและรายได้ของครอบครัว) อิทธิพลจากกลุ่มเพื่อน ความเครียดทัศนคติต่อพฤติกรรมเสี่ยงการรับรู้ความสามารถของตนในการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง และความสัมพันธ์ในครอบครัวโดยมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามอยู่ระหว่าง 0.69-0.95 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติถดถอยโลจิสติกส์ (Binary logistic regression) ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพหุพฤติกรรมเสี่ยง ร้อยละ 50.0 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพหุพฤติกรรมเสี่ยงได้แก่ ทัศนคติต่อการมีพฤติกรรมเสี่ยง (AOR = 12.63, 95 % CI = 6.47-24.68) การรับรู้ความสามารถของตนในการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง (AOR = 4.10, 95 % CI = 2.10-8.00) อิทธิพลจากกลุ่มเพื่อน (AOR = 3.04, 95 % CI = 1.51-6.12) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (AOR = 1.95, 95 % CI = 1.01-3.78) ผลการวิจัยในครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางสำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน และผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อการป้องกันการมีพหุพฤติกรรมที่มีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเสริมสร้างทัศนคติที่เหมาะสมและมีการรับรู้สมรรถแห่งตนในการปฏิเสธพฤติกรรมเสี่ยง สำหรับวัยรุ่นชายไทย
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectวัยรุ่น -- พฤติกรรม
dc.subjectวัยรุ่น -- การใช้สารเสพติด
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
dc.titleปัจจัยทำนายพหุพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นชายจังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativePredicting fctors of multiple risk behviors mong mle dolescents in lopburi province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeRisk behaviors among adolescents including alcohol drinking, smoking, sexual behavior and violence have increased and become an important public health problem in Thai society. Thispredictive correlation design aimed to identify multiple risk behaviors and to examine the factors related to multiple risk behaviors among male adolescents in Lopburi province. The Theory of Triadic Influence (TTI) was used as a conceptual framework. A total sample was 318 male higher secondary school students. Self-administered questionnaires collected data on demographic (age, education and academic achievement) peer influence, stress, attitude towards risk behaviors, risk behavior refusal self-efficacy and family attachment questionnaires. Their reliability were between 0.69-0.95. Data were analyzed by using descriptive statistics and Binary logistic regression. The results of the study revealed that the prevalence of multiple risk behaviors was 50 %. The significant factors influencing multiple risk behaviors among male adolescents were attitude towards risk behaviors (AOR = 12.63, 95 % CI = 6.47-24.68), risk behavior refusal selfefficacy (AOR = 4.10, 95 % CI = 2.10-8.00), peer influence (AOR = 3.04, 95 % CI = 1.51-6.12), and academic achievement (AOR = 1.95, 95 % CI = 1.01-3.78). The resultsof the study serve as a guideline for community nurse practitioner and people who involved to developed an effectively multiple risk-behavior preventive program focusing on enhancing appropriated attitude towards risk behavior and, risk behavior refusal self-efficacy for Thai male adolescents.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
60920052.pdf1.9 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น