กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10012
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสมสมัย รัตนกรีฑากุล
dc.contributor.advisorสุวรรณา จันทร์ประเสริฐ
dc.contributor.authorนาฎอนงค์ แฝงพงษ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:43:55Z
dc.date.available2023-09-18T07:43:55Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10012
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractโรคมือเท้าปากเป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญจำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองเพื่อการแก้ไขปัญหาการศึกษากึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพัฒนาความเชื่อด้านสุขภาพของผู้ปกครองต่อการรับรู้ และพฤติกรรมการป้องกันโรคมือเท้าปาก ในเด็กวัยก่อนเรียนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ปกครองเด็กวัยก่อนเรียนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีอายุ 21-59 ปี จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วยเครื่องมือการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมความเชื่อด้านสุขภาพ วีดิทัศน์คู่มือปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคและเครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Chi-Square Fisher’s exact test และ Independent t-test ผลการศึกษาพบว่า หลังการทดลองกลุ่มทดลอง มีค่าเฉลี่ยการรับรู้โอกาสเสี่ยง และการรับรู้ความรุนแรงของโรคระดับมาก (M = 4.36, SD = 0.46; M = 4.50, SD = 0.38) ค่าเฉลี่ยการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมป้องกันโรคระดับมากที่สุด (M = 4.63, SD = 0.31) ค่าเฉลี่ยการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมป้องกันโรคระดับน้อยที่สุด (M = 1.42, SD =0.34) และมีการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคมือเท้าปากเป็นประจำ (M = 2.66, SD = 0.21) กลุ่มทดลองมีการเปลี่ยนแปลงการรับรู้ โอกาสเสี่ยงการรับรู้ความรุนแรงของโรคการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรค พฤติกรรมการป้องกันโรคมือเท้าปากมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 2.370, p = .010, t = 2.158, p = .018, t = 1.935, p = .029 และ t = 2.160, p = .017 ตามลำดับ) และมีการเปลี่ยนแปลงการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคลดลงมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = -3.083, p = .002) ผลการศึกษานี้พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน บุคลากรสุขภาพ และผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือครูผู้ดูแลศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก นำไปใช้เป็นแนวทางในการป้องกันโรคมือเท้า ปากในเด็กวัยก่อนเรียน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectโรคมือ เท้า ปาก -- การป้องกันและควบคุม
dc.subjectการดูแลเด็ก
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
dc.titleผลของโปรแกรมการพัฒนาความเชื่อด้านสุขภาพของผู้ปกครองต่อการรับรู้และพฤติกรรมการป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กวัยก่อนเรียนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
dc.title.alternativeEffects of helth belief development progrm mong prents on perceptions nd hnd, foot, mouth disese preventive behviors for pre school-ged children in child development center
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeHand, foot, and mouth disease (HFMD) is an infectious disease and a major public health problem. It mostly affects children under age 5, and its solution thus benefits from parental involvement. This quasi-experimental research aimed to study the effects of a health belief development program for parents on HFMD perception and preventive behaviors for pre-school-aged children in a child development center. Sixty parents aged 21-59 were recruited via multi-stage sampling and divided into experimental (n = 30) and control groups (n = 30). The research tools consisted of experimental instruments which were health belief model program, video, the handbook for disease preventive behaviors and data collection tools were questionnaires. Data analysis included percentages, means, standard deviations, Chi-Square, Fisher’s exact test and independent t-tests. The results revealed that, after the intervention, the experimental group had a high level mean score of perceived susceptibility and perceived severity of HFMD (M = 4.36, SD = 0.46; M = 4.50, SD = 0.38), the highest level mean score for perceived benefits of preventive behaviors HFMD (M = 4.63, SD = 0.31), a lower mean score for perceived barriers to preventive behaviors regarding HFMD (M = 1.42, SD = 0.34), and a regular level mean score for HFMD preventive behaviors (M = 2.66, SD = 0.21). There were several changes in health beliefs: in the experimental group, post-intervention scorers for perceived susceptibility, perceived severity, and perceived benefits of HFMD preventive behaviors were significantly higher than in the control group (t = 2.370, p = .010, t = 2.158, p = .018, t = 1.935, p = .029 and t = 2.160, p = .017 respectively). Similarly, the experimental group’s post-intervention perceived barriers score was significantly lower than the control group’s score (t = -3.083, p = .002). The results of the study can be used by community practice nurses, health workers and administrators, or child development center teachers as guidelines for reducing HFMD pre-school-aged children.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
58920237.pdf2.66 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น