กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10010
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ตติรัตน์ เตชะศักดิ์ศรี | |
dc.contributor.advisor | สุพิศ ศิริอรุณรัตน์ | |
dc.contributor.author | สุดารักษ์ ประสาร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:43:55Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:43:55Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10010 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | การสนับสนุนในระยะคลอด เป็นบทบาทอิสระที่สำคัญของพยาบาลผดุงครรภ์ การวิจัย แบบกึ่งทดลอง (Quasi experimental research design) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสนับสนุนในระยะคลอดอย่างต่อเนื่องต่อความกลัวการคลอด และผลลัพธ์ของการคลอดของผู้คลอดครรภ์แรกกลุ่มตัวอย่างเป็น หญิงตั้งครรภ์ ครรภ์แรกที่มาฝากครรภ์และมาคลอดบุตรเมื่ออายุครรภ์ 38-40 สัปดาห์ ณ ห้องคลอด โรงพยาบาลศรีสะเกษ จำ นวน 48 คน เลือกตัวอย่างตามคุณสมบัติตามเกณฑ์การคัดเข้าเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่ายกลุ่มละ 24 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ การตั้งครรภ์และการคลอด และแบบวัดความกลัวการคลอดด้วยสายตา (Fear of birth scale) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา สถิติไคสแควร์ สถิติทดสอบสัดส่วน และสถิติทดสอบค่าทีอิสระ ผลการวิจัยพบว่า ทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยของความกลัวการคลอดที่วัด ครั้งที่ 2 (หลังเข้าร่วมโปรแกรมการสนับสนุนในระยะคลอดอย่างต่อเนื่องในระยะตั้งครรภ์) น้อยกว่าที่วัดครั้งที่ 1 แต่มีค่าเฉลี่ยของความกลัวการคลอดเพิ่มขึ้นเมื่อวัดครั้งที่ 3 (เมื่อแรกรับไว้ในห้องคลอด) และมีค่าสูงสุดเมื่อวัดครั้งที่ 4 (ระยะปากมดลูกเปิดมาก 6-7 ซม.) กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยของความแตกต่างของคะแนนความกลัวการคลอดที่วัดครั้งที่ 1 กับครั้งที่ 2 มากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=.009) และได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .001) แต่มีค่าเฉลี่ยของความแตกต่างของคะแนนความกลัวการคลอดที่วัดครั้งที่ 3 กับครั้งที่ 4 ค่าเฉลี่ยของระยะเวลาในระยะที่ 1 ของการคลอด และสัดส่วน วิธีการคลอดแบบการคลอดปกติไม่แตกต่างกันจากกลุ่มควบคุม (p = .830, p = .714 และ p = .188 ตามลำดับ) ผลการศึกษาเสนอแนะว่า พยาบาลผดุงครรภ์ควรนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในการเตรียมความพร้อมเพื่อการคลอดและดูแลผู้คลอดในระยะคลอดเพื่อลดการใช้ยาเร่งคลอด | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การทำคลอด | |
dc.subject | การคลอด | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการผดุงครรภ์ | |
dc.title | ผลของโปรแกรมการสนับสนุนการคลอดอย่างต่อเนื่องต่อความกลัวการคลอดและผลลัพธ์ของการคลอดของผู้คลอดครรภ์แรก | |
dc.title.alternative | Effects of continuous lbor support progrmme on fer of childbirth nd childbirth outcomes mong primiprous women | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Labor support is an important independent role of the nurse and midwife. This quasi experimental research aimed to study the effects of continuous labor support on fear of childbirth and outcomes of childbirth among primiparous women. The sample was 48 primiparous pregnant women who attend the antenatal clinic and gave birth at 38-40 weeks of gestational age in the delivery room of Srisaked hospital. Subjects were selected by inclusion criteria and random sampling was used to assign the subjects equally to experiment and control groups of 24 pregnant women each. Data were collected by a personal and demographic questionnaire, pregnancy and labor record, and the fear of birth scale. Data were analyzed by descriptive statistics, Chi-square test, Kolmogorov-Smirnov Z-test, and independent t-test. Analysis found that the mean scores of fear of childbirth in both groups measured at time 2 (after attending the program during pregnancy) were less than at time 1. However, they increased when measured at time 3 (admission into the labor room) and were highest at time 4 (active phase: cervix dilatation 6-7 cm). The difference in fear of childbirth mean scores at time 1 and time 2 in the experimental group was significantly greater than in the control group (p =.009), and the proportion of oxytocin administration in the experimental group was significantly less than in the control group (p =.001). There were no significant differences in the fear of childbirth mean scores at time 3 and time 4, duration of the first stage of labor, and the proportion of type of delivery between the experimental group and the control group (p =.830, p = .714, and p =.188, respectively). The results suggest that nurses and midwives should apply this program to provide better childbirth preparation and care of the parturient during labor in order to decrease oxytocin administration. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การผดุงครรภ์ | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
58920075.pdf | 2.25 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น