กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10009
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุพิศ ศิริอรุณรัตน์
dc.contributor.advisorตติรัตน์ เตชะศักดิ์ศรี
dc.contributor.authorศิริวรรณ ผูกพันธ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:43:55Z
dc.date.available2023-09-18T07:43:55Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10009
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการสูบบุหรี่ของบุคคลในครอบครัวเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพมารดา และทารกในครรภ์ การรักษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่ของหญิงตั้งครรภ์ได้แก่ การรับรู้ประโยชน์ในการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่ การรับรู้อุปสรรคในการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่การรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่และการสนับสนุนทางสังคมในการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่ กลุ่มตัวอย่าง คือ หญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการ ณ แผนกฝากครรภ์ของโรงพยาบาลพระนารายณ์ มหาราช จังหวัดลพบุรี จำนวน 130 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการรับรู้ประโยชน์ในการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่แบบสอบถามการรับรู้อุปสรรคในการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่แบบสอบถามการรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันอันตรายจากควัน บุหรี่แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมในการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่ของหญิงตั้งครรภ์ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .71, .86, .87, .81 และ .81 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์ถดถอยพหคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่เฉลี่ย เท่ากับ 31.53 (SD = 4.68) ปัจจัยที่สามารถทำนายพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่ของหญิงตั้งครรภ์ ได้แก่ การสนับสนุนทางสังคมในการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่ (β = .63, p< .001) และการรับรู้อุปสรรคในการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่ (β = -.16, p = .026) สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่ได้ร้อยละ 50.9 (R 2 = .509, F (2, 127) = 65.72, p< .001) ผลการศึกษานี้สามารถนำผลการศึกษานี้ไปใช้ในการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของสามีหรือสมาชิกในครอบครัวในการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่ในหญิงตั้งครรภ์
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectบุหรี่ -- ผลกระทบทางสรีรวิทยา
dc.subjectควันบุหรี่
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการผดุงครรภ์
dc.titleปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากควันบุหรี่ของหญิงตั้งครรภ์
dc.title.alternativeFctors predicting preventive behvior regrding dverse effects of cigrette smoke mong pregnnt women
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeSmoking by family members is a major problem which affects thehealth of the mother-to-be and fetus. This study aims to examine factors predicting preventive behavior regarding adverse effects of cigarette smoke among pregnant women. The sample was 130 pregnant women who visited the antenatal clinic at King Narai Hospital located in Mueang Lopburi District, Lopburi. Data collected by questionnaires included demographic data, preventive behavior regarding adverse effects of cigarette smoke, perceived benefits, perceived barriers, perceived self-efficacy and social support forprevention from adverse effects of cigarette smoke. The reliabilities of the questionnaires were .71, .86, .87, .81 and .81, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and stepwise multiple regression. The analysis found the average score for preventive behavior regarding adverse effects of cigarette smoke was 31.53 (SD = 4.68). Factors that significantly predicted preventive behavior regarding adverse effectsof cigarette smoke were social support for prevention regarding adverse effects of cigarette smoke (β = .63, p< .001) and perceived barriers to prevention regarding adverse effects of cigarette smoke (β = -.16, p = .026). The total variance explained by these factors among the sample was 50.9 percent (R 2 = .509, F(2, 127)= 65.72, p< .001). The results of this study could be used to develop programspromoting the participation of husbands or other family members in protecting pregnant women from adverse effects of cigarette smoke.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการผดุงครรภ์
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
58920073.pdf2.63 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น