กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10007
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ตติรัตน์ เตชะศักดิ์ศรี | |
dc.contributor.advisor | สุพิศ ศิริอรุณรัตน์ | |
dc.contributor.author | วราภรณ์ ทองนาท | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:43:54Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:43:54Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10007 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | การป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอดเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการลดภาวะแทรกซ้อนของมารดาหลังคลอด และลดอัตราการตายของมารดาหลังคลอด การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่ม วัดผลหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการป้องกันภาวะตกเลือด หลังคลอดต่อปริมาณเลือดหลังคลอดระยะเวลาของการคลอด และระดับการฉีกขาดของแผลฝีเย็บ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้คลอดครั้งแรกที่มีความเสี่ยงต่ำ ที่มารับบริการ ณ ห้องคลอด โรงพยาบาลทั่วไป แห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี จำนวน 54 ราย ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2561 ถึง กรกฎาคม 2562 แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละเท่า ๆ กัน คือ 27 คน โดยการสุ่มอย่างง่ายกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการป้องกันภาวะตกเลือด และกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลปกติเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปและข้อมูลการตั้งครรภ์แบบบันทึกข้อมูลการคลอด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาการทดสอบไคสแคว์และการทดสอบค่าทีอิสระ ผลการวิจัย พบว่า ปริมาณเลือดหลังคลอด ระยะเวลาในระยะที่ 1 ของการคลอด และระยะเวลาในระยะที่ 2 ของการคลอดไม่แตกต่างกัน (t 52 = -1.43, p = .08, t 52 = 1.15, p = .13 และ Z = -1.5, p = .94 ตามลำดับ) อย่างไรก็ตามกลุ่มทดลองได้รับการตัดฝีเย็บน้อยกว่ากลุ่มควบคุม (ร้อยละ 52.9 และร้อยละ 92.6) และกลุ่มทดลองมีระดับการฉีกขาดที่น้อยกว่ากลุ่มควบคุม (ร้อยละ 85.20 และร้อยละ 100) ผลการวิจัยนี้เสนอแนะให้พยาบาลผดุงครรภ์ใช้วิธีการป้องกันหรือลดการฉีกขาดของฝีเย็บโดยการเบ่งแบบเปิดปากและการตัดฝีเย็บเมื่อจำเป็น | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ภาวะเลือดออก | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการผดุงครรภ์ | |
dc.title | ผลของโปรแกรมการป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอดต่อปริมาณเลือดหลังคลอดและผลลัพธ์ของการคลอดในผู้คลอดครั้งแรกที่มีความเสี่ยงต่ำ | |
dc.title.alternative | Effects of postprtum hemorrhge prevention progrm on postprtum blood loss nd outcomes of lbor mong low risk nulliprous women | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Prevention of postpartum hemorrhage is the best method to reduce maternal complications and maternal mortality. This quasi-experimental research aimed to study the effects of postpartum hemorrhage prevention program amount on blood loss during two hours postpartum period, duration of labor, and degree of perineal tear. Participants consisted of 54 nulliparous low-risk parturients giving birth in the delivery room at a general hospital in Chon Buri province during October 2018 to July 2019. These parturients were equally divided into two groups, an experimental group and a control group by random sampling—each group composed of 27 parturients. The experimental group received a postpartum hemorrhage prevention program, and the control group received regular nursing care. A demographic questionnaire and pregnancy and labor records were used to collect data. Data were analyzed by descriptive statistics, Chi-square, and independent t-test. The results revealed that, there are no significant differences between blood loss during two hours postpartum period, durations of the first stage of labor, and the second stage of labor among the experimental group and the control group (t 52= -1.43, p= .16, t 52= 1.15, p= .26, andZ= -1.5, p= .94). However, the number of episiotomies in the experimental group were lesser than those in the control group (52.9% and 92.6%), and the degree of a perineal tear in the experimental group was lesser than that of in the control group (85.20 % and 100 %). The results suggest that nurses and midwives should restricted episiotomy and promote the parturients to push the babies with the open glottis method. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การผดุงครรภ์ | |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
58920069.pdf | 2.1 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น