กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10005
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorตติรัตน์ เตชะศักดิ์ศรี
dc.contributor.advisorสุพิศ ศิริอรุณรัตน์
dc.contributor.authorจิรัชยา หนูสิงห์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:43:54Z
dc.date.available2023-09-18T07:43:54Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10005
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการลดปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคลอดก่อนกำหนดมีความสำคัญในการป้องกันการเจ็บครรภค์ลอดก่อนกำหนด การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการดำเนินชีวิตกับการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด กลุ่มตัวอย่างเป็นหญิงตั้งครรภ์ที่มีการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดและครบกำหนดที่รับไว้ดูแลในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย และโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จำนวน 160 คน แบ่งเป็นกลุ่มละ 80 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้ 1) แบบสอบถามข้อมูลด้าน ประชากร ร่วมกับข้อมูลการทำงาน การยืนนาน การสัมผัสบุหรี่มือสอง 2) แบบประเมินคุณภาพ การนอนพิตส์เบิร์กและ 3) แบบประเมินพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ chi-square test และสถิติ point biserial correlation coefficient ผลการวิจัย พบว่า คุณภาพการนอนหลับเชิงอัตนัย และผลกระทบต่อการทำกิจกรรมในเวลากลางวัน มีความสัมพันธ์กับการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดที่ระดับ .05 (X 2 = 9.014, df = 1, p = .001, และ X 2 = 7.241, df = 1, p = .006) มีข้อเสนอแนะให้พยาบาลผดุงครรภ์ จัดกิจกรรมการพยาบาลเพื่อส่งเสริมคุณภาพการนอนหลับของหญิงตั้งครรภ์เพื่อลดปัญหาการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
dc.language.isoth
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการคลอดก่อนกำหนด
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการผดุงครรภ์
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการดำเนินชีวิตกับการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์
dc.title.alternativeReltionships between lifestyle fctors nd premture lbor pin mong pregnnt women
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeRelief factors related to preterm labor are important to prevent premature labor pain. The purpose of this research was to examine the relationships between lifestyle factors and premature labor pain in pregnant women. The subjects were 160 pregnant women admitted to the labor room in King Chulalongkorn Memorial Hospital and Queen Savang Vadhana Memorial Hospital in Sriracha. Subjects were dividedinto two equal groups: 80 pregnant women with premature labor pain, and 80 pregnant women with full term labor pain. Data were collected by 1) a demographic questionnaire that included data related working hours/week, standing hours/ day, and second-hand cigarette exposure, 2) the Pittsburgh Sleep Quality Index [PSQI], and 3) a preventive behavior of UTI during pregnancy questionnaire. Data were analyzed by frequency, percent, mean, standard deviation, chi-square test and point biserial correlation coefficient statistics Results found that sleep quality and daytime dysfunction were significantly (p<.05) related to premature labor pain (X 2 = 9.014, df = 1, p = .001, X2 = 7.241, df = 1, p = .006). These findings suggest that nurses and midwives should provide nursing intervention to promote sleep quality during pregnancy in order to decrease premature labor pain.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการผดุงครรภ์
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
58920063.pdf4.44 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น