DSpace Repository

เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยการสะสมทุนทางการเมืองของตระกูลเทือกสุบรรณ

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชัยณรงค์ เครือนวน
dc.contributor.author มาดล จรูญรัตน์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:36:19Z
dc.date.available 2023-09-18T07:36:19Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9959
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมืองแนววัฒนธรรมเชิงวิพากษ์ มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาการสะสมทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรมและทุนทางสัญลักษณ์ที่เป็นเงื่อนไขจำเป็นในการสะสมทุนทางการเมือง เพื่อศึกษาปัจจัยที่เป็นเงื่อนไขเพียงพอในสนามแห่งอำนาจนำไปสู่อำนาจทางการเมืองและเพื่อศึกษากระบวนการสะสมทุนทางการเมืองไปสู่การมีอำนาจทางการเมืองของตระกูลเทือกสุบรรณ ผลการศึกษาพบว่า ตระกลูเทือกสุบรรณมีการสะสมทุนทั้ง 4 รูปแบบ ดังนี้ 1. การสะสมทุนทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การประกอบอาชีพเกษตรกรรม การรับราชการและการทำธุรกิจส่วนตัว 2. การสะสมทุนทางสังคม ได้แก่ การอุทิศตนเพื่อสังคม การจัดตั้งสหกรณ์การจัดทำโครงการและสร้างกลุ่มเครือข่าย 3. การสะสมทุนทางวัฒนธรรม ได้แก่ การศึกษา สถาบันการศึกษา สโมสรฟุตซอล และอุดมการณ์ทางการเมือง 4. การสะสมทุนทางสัญลักษณ์ได้แก่ รางวับแหนบทองคำ กำนันประเทศนอก ลุงกำนัน และเสียงนกหวีด นำมาสู่ทุนทางการเมืองผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่เป็นเงื่อนไขเพียงพอในสนามแห่งอำนาจนำไปสู่อำนาจทางการเมือง คือ 1. ระบบอุปถัมภ์ได้แก่ ผู้ให้-ผู้รับการอุปถัมภ์ กลุ่มเครือญาติและกลุ่มพรรคพวกเพื่อนฝูง 2. พรรคการเมือง ได้แก่ ประวัติความเป็นมาของพรรคการเมือง ชื่อเสียง-ผลงานของพรรคการเมือง และงบประมานของพรรคการเมือง 3. สนามทางสังคม ได้แก่ ชุมชน ข้าราชการการทำธุรกิจและการเมืองท้องถิ่น ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการสะสมทุนทางการเมืองไปสู่การมีอำนาจทางการเมือง คือ 1. การใช้ทุนทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การใช้ในรูปแบบของเครือข่ายทางธุรกิจค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงินทุนการหาเสียง การศึกษา ทุนการศึกษา และภาษีสังคม 2. การใช้ทุนทางสังคม ได้แก่ การใช้ในรูปแบบของการเป็นคนในพื้นที่เป็นคนในสังคม เป็นนักพัฒนาสังคม และการใช้ตำแหน่งหน้าที่ 3. การใช้ทุนทางวัฒนธรรม ได้แก่ การใช้ในรูปแบบของความเป็นตัวตน สถาบันการศึกษา และกีฬา 4. การใช้ทุนทางสัญลักษณ์ ได้แก่ การใช้ในรูปแบบของคุณงามความดี ความรู้ความสามารถผู้นำแห่งการต่อสู้การคัดค้าน และผู้ให้ใจบุญ ผลการปฏิสัมพันธ์ของทุน รูปแบบต่าง ๆ เหล่านี้นำไปสู่การสะสมทุนทางการเมืองของตระกูล เทือกสุบรรณ
dc.language.iso th
dc.publisher คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.subject ทุนในการหาเสียง
dc.subject นามสกุล -- เทือกสุบรรณ
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ
dc.title เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยการสะสมทุนทางการเมืองของตระกูลเทือกสุบรรณ
dc.title.alternative Politicl economy of politicl ccumultion: cse study of thugsubn fmily
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research is a critical-cultural studies in political economy aiming 1. to examine the ways ThaugsubanFamily had performed on economic capital, social capital, cultural capital, and symbolic capital, which are considered as crucial factors for political accumulation 2. to investigate adequate conditional factors for leading to the field of power to gain a political power and 3. to study political capital accumulation process for securing the political power of ThaugsubanFamily. The findings revealed that the Thaugsuban Family had performed four forms of political capital accumulations comprising 1. Economic Capital—the professional careers of ThaugsubanFamily are agricultural profession, government official, and business owner 2. Social Capital—dedication to the public service, establishment of cooperatives, public projects initiators, and establishment of networks 3. Cultural Capital—education, educational institution, football club, and political ideology, and 4. Symbolic Capital—been awarded Outstanding Village Headman Award, be referred to as Internationalized Sub-district Headman, as Uncle Sub-district Headman (Lung Kamnan), and the owner of symbolic whistle sound. It was also found that the crucial conditional factors to be competitive in the field of power as a result gaining the political power were 1. Patronage System which are givers-takers, groups of relative, and groups of fellow and friend 2. Political Party meaning history, reputation, and budget of the political party 3. Social Field refers to community, government official, conducting business, and local politics. There were found four utilizing processes of political capital accumulation for securing the political power which are 1. Economic Capital—utilizing business network, wages and honorarium, budget for political party campaigns, education, scholarship, and social tax 2. Social Capital—using advantages of being a member of local community, the society, social developers, and the professional position 3. Cultural Capital—utilizing the form of identity, educational institution, and sports and 4. Symbolic Capital—contributing to the public with virtue, knowledge and ability, being a leader in public fights and objections, and being a philanthropist. The result of these capitals interaction lead to political accumulation of Thaugsuban Family.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline เศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ
dc.degree.name รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account