DSpace Repository

การประเมินผลโครงการฝึกอบรมหลักสูตร "ผู้นำท้องถิ่นยุคใหม่" ของสำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา

Show simple item record

dc.contributor.advisor รชฎ จันทร์น้อย
dc.contributor.author พรนิภา อุพลเถียร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:10:32Z
dc.date.available 2023-09-18T07:10:32Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9726
dc.description งานนิพนธ์ (ปร.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินผลโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “ผู้นำท้องถิ่นยุคใหม่” ในด้านสภาวะแวดล้อมของโครงการปัจจัยเบื้องต้นของโครงการกระบวนการของโครงการและผลผลิตของโครงการและศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเพื่อนำมาปรับปรุงการดำเนินงานโครงการฝึกอบรมของสำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม สุ่มตัวอย่างแบบสุ่ม อย่างง่าย (Simple random sampling) การจับฉลากและวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนาได้แก่ค่าเฉลี่ย (Mean) ร้อยละ (Percentage) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) สำหรับการบรรยายข้อมูลและแบบสัมภาษณ์ (In-depth interview) ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลสรุปได้ว่า ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 41-50 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาโท ทำงานราชการ 13 ปีขึ้นไปผลการประเมินผลโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “ผู้นำท้องถิ่นยุคใหม่” ของสำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา ในมุมมองของผู้เข้ารับการอบรม มีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการผ่านเกณฑ์ทั้ง 4 ด้าน โดยด้านสภาพแวดล้อม (Context) และด้านผลผลิต (Product) อยู่ในระดับดีมาก และด้านปัจจัยเบื้องต้น (Input) และด้านกระบวนการ (Process) อยู่ในระดับดี ผลการประเมินในมุมมองของผู้จัดโครงการพบว่า ด้านสภาพแวดล้อม (Context) และด้านผลผลิต (Product) และด้านปัจจัยเบื้องต้น (Input) ประสบความสำเร็จตามแผนแต่ในด้านกระบวนการ (Process) ต้องปรับปรุงด้านการติดตาม และประเมินผลโครงการข้อเสนอแนะ สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพาควรจัดโครงการอบรม โดยการหาความต้องการและความจำเป็นอย่างมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ และควรปรับปรุงวิธีการและช่องทางในการ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการอบรมให้ทั่วถึงข้อเสนอแนะเชิงวิชาการควรศึกษาปัจจัยใน (CIPP model) หัวข้อใดที่มีความสำคัญและศึกษาปัจจัยเบื้องต้น (Input) ใดมีความสำคัญในการจัดโครงการ
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject หลักสูตรท้องถิ่น
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป
dc.subject ผู้นำชุมชน -- การฝึกอบรม
dc.title การประเมินผลโครงการฝึกอบรมหลักสูตร "ผู้นำท้องถิ่นยุคใหม่" ของสำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.title.alternative The evlution of new locl ledership trining progrm in deprtment of cdemic service centre, Burph University
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to evaluate a training project on modern local leaders in terms of its context, input, process, and output. Also, this study aimed at examining problems and suggestions for the improvement of the service offered by the Office of Academic Service, Burapha University. The instrument used to collect the data in this study was a questionnaire. The subjects were recruited by a simple random sampling technique. The collected data was analyzed by the descriptive statistics, including mean, percentage, and standard deviation. Also, an in-depth interview and a content analysis technique were used. The results of the study revealed that the majority of the respondents were female, aged 41-50, holding a master’s degree, and being government officers with a work length of 13 years onwards. The results of this study based on the subjects’ opinions indicated that they considered the training project on modern local leaders effective, achieving its purposes in four aspects. Specifically, the aspects in relation to the project context and output were rated at a very good level. The aspects of input and process of the training project were rated at a good level. Regarding the results based on the opinion of the organizer, the Office of Academic Service, they also considered the project context, output, and input successful as planned despite the fact that the project process needed an improvement. Considering the aspects of project monitoring and evaluating, they also needed an improvement. For the suggestions, it was advisable that, prior to organizing the projects, a need survey and analysis should be conducted. Participation from other sectors should be encouraged. Also, different channels for publicizing the projects should be made available. Finally, there should be a study, using a CIPP model to determine important topics and factors when organizing training projects.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารทั่วไป
dc.degree.name รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account