dc.contributor.advisor |
วรพิทย์ มีมาก |
|
dc.contributor.advisor |
วรวิทย์ จินดาพล |
|
dc.contributor.advisor |
วิภาวี พิจิตบันดาล |
|
dc.contributor.author |
ชุตินันท์ มุ่งการนา |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-18T07:10:28Z |
|
dc.date.available |
2023-09-18T07:10:28Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9699 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การองค์การแห่งการเรียนรู้ และประสิทธิผลของเทศบาลนคร 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การองค์การแห่งการเรียนรู้กับประสิทธิผลของเทศบาลนครและ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาประสิทธิผลของเทศบาลนคร การวิจัยนี้มีหน่วยการวิเคราะห์ระดับองค์กรซึ่งใช้การวิจัยเป็นแบบผสมวิธี (Mixed method research) แบบ Convergent parallel design Creswell and Clark (2011) สำหรับในการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม โดยกลุ่มตัวอย่างมีจำนวน 480 คน สถิติการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เส้นทาง (Path analysis) และในส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ซึ่งประกอบ 5 ส่วนสำคัญ ได้แก่ 1) ผู้บริหารระดับสูง 2) ผู้บริหารระดับกลาง 3) ผู้ปฏิบัติงานหลัก 4) ฝ่ายอำนวยการ 5) ฝ่ายสนับสนุนการวิเคราะห์เนื้อหาตามวิธีของ Miles & Huberman (1994) และดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการเปรียบเทียบเคียงข้างกันเพื่อผสานข้อมูล (A side-by-side comparison for merge data) ผลการวิจัย พบว่า แบบจำลองสมการโครงสร้างของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลของเทศบาลนคร มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ในระดับดีมาก (ค่า X2 / df = 1.198, df=75, RMSEA = 0.024, RMR = 0.027, CFI = 1.00) ซึ่งผลการวิจัยจากข้อมูลเชิงปริมาณดังกล่าวสอดคล้องกับข้อมูลเชิงคุณภาพ อันเป็นการสะท้อนผ่านความแข็งแกร่งของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองค์การอันเป็นปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลส่งผ่านการเป็นองค์การแห่งการเรียนสู่ประสิทธิผลของเทศบาลนคร และมีความสัมพันธ์กัน แบบห่วงโซ่ของเหตุผลและทุกองค์ประกอบไม่สามารถแยกจากกันได้หรือเรียกว่า Full model |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
วัฒนธรรมองค์การ |
|
dc.subject |
ภาวะผู้นำ |
|
dc.subject |
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ |
|
dc.subject |
วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก |
|
dc.title |
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองค์การ องค์การแห่งการเรียนรู้กับประสิทธิผลของเทศบาลนคร |
|
dc.title.alternative |
Trnsformtionl ledership culture orgniztionl lerning orgniztion nd orgniztionl effectiveness of the city municiplities |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study was three fold first, It aimed at transformational
leadership, cultureorganizational, learning organization and organizational effectiveness
of the city municipalities. Also, this study a causal structural relationship of
transformational leadership, cultureorganizational, learning organization and
organizational effectiveness of the city municipalities. Last, this study provided
guidelines for developing organizational effectiveness of the city municipalities. Which
study has unit of analysis was an organization level.This study was aconvergent
parallel design consisting of both research qualitative and quantitative methods,
Creswell & Clark (2011). The quantitative research instrument was a questionnaire.
The normative sample included 480 individuals. In statistics test by path analysis.
As for the qualitative research instrument was a group of key informants experts group
fivethe key part of the organizationstructural including 1) Strategic apex 2) Middle line
3) Operative core 4) Techno structure and 5) Support staff. Qualitative data analysis by
Miles & Huberman (1994). As well the data analysis was processed using a merged
data technique and aside-by-side comparison for merge data.
The results and findings the structural equation model of transformational
leadership, cultureorganizational, learning organization and organizational
effectiveness of the city municipalities fitted to the empirical data wasat excellence
(X2
/ df = 1.198, df=75, RMSEA = 0.024, RMR = 0.027, CFI = 1.00) Notably, this
quantitative data analysis results were in conformity with the qualitative data analysis.
This reflects the strength role of transformational leadership, culture organizational was
important factor influencing the transfer of learning organization to organizational
effectiveness of the city municipalities as the chain of reason and the elements
can not be separated at all or called the full model. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
รัฐประศาสนศาสตร์ |
|
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|