dc.contributor.author |
สงวน ธานี |
|
dc.contributor.author |
สุภาภรณ์ ด้วงแพง |
|
dc.contributor.author |
อาภรณ์ ดีนาน |
|
dc.contributor.author |
ชนัดดา แนบเกษร |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:54:55Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:54:55Z |
|
dc.date.issued |
2555 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/965 |
|
dc.description.abstract |
ปัญหาการติดสารเสพติดของวัยรุ่นไทยพบว่าเกี่ยวข้องกับความรักและความอบอุ่นจากครอบครัว
การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการเสริมสร้างความ
รักเพื่อพิทักษ์วัยรุ่นไทยจากสารเสพติด กลุ่มตัวอย่างได้แก่ วัยรุ่นและครอบครัว จำนวน 96 ครอบครัว แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 48 ครอบครัว สุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย หลังจากนั้นให้กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเสริม
ความรัก สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ๆ ละ 60-90 นาที จำนวน 8 ครั้ง โดยมีกิจกรรมประกอบด้วย 1) ครอบครัวของเรา 2) บทบาทและหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว 3) สร้างความรักในบ้าน ด้วยการสื่อสารที่ดี 4) การพัฒนาความใกล้ชิดผูกพันด้วยการใช้เวลาในการทำกิจกรรมร่วมกัน 5) การแสดงออกซึ่งความรักและความเอื้ออาทรกัน 6) เติมเต็มกำลังใจให้แก่กันและกัน 7) การจัดการกับความเครียด และ 8) ผูกสัมพันธ์วันแห่งความรัก ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการป้องกันการติดสารเสพติดหลังการติดตามผล 1 เดือน ประเมินผลของโปรแกรมโดยใช้แบบสอบถาม
พฤติกรรมการป้องกันสารเสพติด ก่อนการทดลอง (To) หลังการทดลอง (T1) และระยะติดตามผล 1 เดือน (T2) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา วิเคราะห์ความแปรปรวนสองทางแบบวัดซ้ำและ
ทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วย Bonferroni ผลการศึกษาพบว่า
1. กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันสารเสพติดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งในระยะหลังการทดลอง (T1) และระยะติดตามผล 1 เดือน (T2)
2. กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันสารเสพติดแตกต่างระหว่างระยะก่อนการทดลอง (T0) และระยะหลังการทดลอง (T1) และก่อนการทดลอง (T0) และระยะติดตามผล 1 เดือน
(T2) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างระยะหลังการทดลอง (T1) และระยะติดตามผล 1 เดือน (T2)
3. มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองกับระยะเวลาการทดลอง (F 2,188 =9.31, p<.001)
จากผลการวิจัยพบว่าโปรแกรมการเสริมสร้างความรักที่สร้างขึ้นทำให้วัยรุ่นเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการป้องกันสารเสพติด ดังนั้นบุคลากรทางด้านสุขภาพและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (เช่น กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันการศึกษาพยาบาล) ควรนำโปรแกรมการเสริมสร้างความรักไปใช้ส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันสารเสพติดสำหรับวัยรุ่น บรรจุในหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง
และควรมีการศึกษาติดตามผลของโปรแกรมในระยะยาวต่อไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ปี 2550 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ความรัก |
th_TH |
dc.subject |
วัยรุ่นไทย |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.subject |
สารเสพติด |
th_TH |
dc.title |
ศึกษาผลของการให้โปรแกรมการเสริมสร้างความรักเพื่อพิทักษ์วัยรุ่นไทยจากสารเสพติด |
th_TH |
dc.title.alternative |
Effects of the program of promoting love to prevent drug addiction for Thai adolescents |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2555 |
|
dc.description.abstractalternative |
Major cause of drug addiction among Thai adolescents was related to loving and caring families. The objective of this quasi-experimental study was to examine the effects of the Program of Promoting Love to Prevent Drug addiction for Thai adolescents (PLPDA). Ninety-six adolescents and their families participated in the program. Simple random sampling was assigned adolescents and their families into experiment (n=48) and control (n=48) groups. The experimental group received the 8-session PLPDA activities, including, 1) our family 2) role and responsibility of family member 3) built up love in family by communication 4) bonding development among family member by family activities 5) expression of love and caring for each other 6) reinforcement among family members 7) stress management and 8) commitment to our family: love and relationship day. Each session was performed 60-90 minutes per week. The control group received information of drug abuse prevention after 1-month follow up. The questionnaire of drug abuse prevention behavior was administered to adolescents in both groups at pretest (T0), post tests (T1), and 1-month follow-up (T2). Descriptive statistics, Two-way repeated measure ANOVA, and Benferroni method were employed to analyze the data. The results were as follows:
1. Mean scores of drug abuse prevention behavior were significant difference (p<.05)
Between the PLPDA group and control groups at post-test (T1) and 1-month follow-up (T2).
2. Mean scores of drug abuse prevention behavior of the PLPDA group were significantly different between pretest and post test as well as pretest and follow-up period (p<.05). However, there was no significantly different between mean scores of post-test and follow-up (p<.05).
3. Interaction effects between method and time was found on behavior for drug abuse prevention (F 2,188=9.31, p<.001)
From the results, the PLPDA program could promote loving and caring in adolescent families
The PLPD group; therefore, the health care provider and relevant organizations (e.g. Ministry of Health, Ministry of Education, Nursing institutions) should utilize the PLPDA program as well as
Apply in curriculum to promote loving and caring in adolescent families, Longitudinal study of the PLPDA program need for further study. |
en |