DSpace Repository

การศึกษาเปรียบเทียบวัฒนธรรมไทย-มาเลเซีย ต่อการยอมรับการทำงานของสตรีในอุตสาหกรรมยานยนต์

Show simple item record

dc.contributor.advisor บรรพต วิรุณราช
dc.contributor.advisor อิสระ สุวรรณบล
dc.contributor.author สุธรรมมา ธรรมโร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T06:47:35Z
dc.date.available 2023-09-18T06:47:35Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9599
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract ปัจจุบันทั่วโลกกำลังให้ความสำคัญอย่างมากกับการส่งเสริมความเท่าเทียมกันระหว่างบุรุษและสตรีมีความพยายามอย่างจริงจังที่จะลดช่องว่างระหว่างเพศ การศึกษาวิจัยนี้มีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาวัฒนธรรมของไทยและมาเลเซียที่มีส่วนส่งเสริมการทำงานของสตรีในอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยการสังเกตการณ์ด้วยตนเองในภาคสนาม (Participate observation) ในโรงงาน ประกอบรถยนต์ในประเทศมาเลเซียและประเทศไทย รวมระยะเวลา 48 เดือน จากนั้น ได้สัมภาษณ์ เชิงลึกกับตัวแทนผู้บริหารและตัวแทนพนักงานที่ทำงานในอุตสาหกรรมยานยนต์ทั้งในมาเลเซีย และไทย จำนวน 40 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึกที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว และมีค่า IOC อยู่ที่ 1.0 ผลการศึกษาพบว่า มาเลเซียจะให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมด้านศาสนาสูงมาก มีความเชื่อและปฏิบัติตามหลักปฏิบัติทางศาสนาอย่างเคร่งครัด ส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำ งานลดลงโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผลกระทบจากการละมาด การถือศีลอด มีอาการง่วงนอน เหนื่อยล้าสมองไม่โปร่งใส มีอาการป่วยและลาป่วยบ่อย สตรีส่วนใหญ่ไม่สามารถทำงานล่วงเวลาได้เพราะมีภาระหน้าที่หลักในการดูแลครอบครัว มาเลเซียจะให้ความสำคัญกับผู้ชายโดยยอมรับ และส่งเสริมผู้ชายเป็นผู้นำในการทำงาน ผู้นำทางสังคมและผู้นำครอบครัว ทั้งนี้พนักงานชายเชื้อสายมุสลิมจะได้รับโอกาสในการทำงานและการเติบโตขึ้นเป็นผู้บริหารในการทำงานทุก ๆ ระดับ ในขณะที่สตรีที่ทำงานในอุตสาหกรรมยานยนต์ประเทศไทยได้รับความเสมอภาคเท่าเทียมกัน และไม่พบการกีดกันทางเพศเชื้อชาติศาสนาและการศึกษาขึ้นอยุ่กับความรู้ทักษะความสามารถและประสบการณ์ทำงานของแต่ละบุคคลอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย มีการผลักดันนโยบายเรื่องความหลายหลาย มุ่งส่งเสริมให้ทุกองค์การให้ความสำคัญและรับพนักงานสตรีเข้าทำงานเพิ่มมากขึ้น
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)
dc.subject อุตสาหกรรมยานยนต์
dc.subject อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
dc.subject วัฒนธรรม -- กลุ่มประเทศอาเซียน
dc.subject วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.title การศึกษาเปรียบเทียบวัฒนธรรมไทย-มาเลเซีย ต่อการยอมรับการทำงานของสตรีในอุตสาหกรรมยานยนต์
dc.title.alternative A comprtive study of thimlysin culture on the cceptnce of wemen work in the utomotive industry
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative Nowadays, the gender equality between men and women are seriously promoting in any countries around the world in order to close the gaps. This research aims to study the cultures of Thailand and Malaysia which may support women to work in the Automotive Industry. The study had been done by participate observation in the car assembly plants both countries for 48 months, and then in-depth interviewed the representative employees and executives who experiences working in Automotive Industry both Thai and Malaysia total 40 people. The findings show Malaysian women are highly sensitive to religious culture, have faith and practice following religious rules. It is direct impact to work efficiency and effectiveness that may consequence from the prayer, fasting, drowsiness, fatigue, brain weakness, sick and often take a medical leave. They feel not comfortable for working overtime because all women have a duty to look after the family at home. Malaysia is fully support men especially for Muslim. They have the opportunity to work and growing up to be executive. Thailand Automotive Industry, men and women are well accepted and equal. They both have the opportunity to work and grow up in the workplace depends on their capability; knowledge, skills, and experiences. Thailand have the policy and promoting the diversity at work, and the number of women work in the automotive industry is also increasing day by day.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline การจัดการสาธารณะ
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account