DSpace Repository

พฤติกรรมการรวมกลุ่มแข่งรถของวัยรุ่นบนทางสาธารณะในพื้นที่อำเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor เอกวิทย์ มณีธร
dc.contributor.author อดิศักดิ์ จองวิจิตรกุล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T06:45:46Z
dc.date.available 2023-09-18T06:45:46Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9570
dc.description งานนิพนธ์ (ร.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการรวมกลุ่มแข่งรถของวัยรุ่นบนทางสาธารณะในพื้นที่อําเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรีและเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการรวมกลุ่มแข่งรถของวัยรุ่นบนทางสาธารณะในพื้นที่อําเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี จําแนกตามข้อมูลส่วนบุคคลจําแนกตามข้อมูลส่วนบุคคลเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ การแจกแจงความถี่ และค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการทดสอบสมมติฐาน ด้วยสถิติ t - Test สําหรับตัวแปร เพศ และสถิติ One way Anova สําหรับตัวแปรอายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 หรือความเชื่อมั่น 95% ผลการวิจัย พบว่า ประชาชนมีพฤติกรรม โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( x = 3.90) ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ประชาชนกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง มากกว่าเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 40.2 ส่วนใหญ่มีช่วงอายุอยู่ระหว่าง 31 - 40 ปี คิดเป็นร้อยละ 38.4 มีสถานภาพ สมรส มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 65.6 มีระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 47.2 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย/ ธุรกิจส่วนตัว คิดเป็นร้อยละ 29.4 และมีรายได้ 10,001 – 15,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 34.4 ส่วนที่ 2 ผลการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนต่อพฤติกรรมการรวมกลุ่ม รถจักรยานยนต์ในทางสาธารณะในพื้นที่อําเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี พบว่า ประชาชนมีพฤติกรรม โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( x = 3.90) ส่วนที่ 3 ผลการทดสอบสมมุติฐาน พบว่า เพศ อายุ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ยอมรับสมมุติฐาน ส่วนสถานภาพ ระดับการศึกษา และอาชีพ ปฏิเสธสมมุติฐาน
dc.language.iso th
dc.publisher คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารงานยุติธรรมและสังคม
dc.subject วัยรุ่น -- พฤติกรรม
dc.title พฤติกรรมการรวมกลุ่มแข่งรถของวัยรุ่นบนทางสาธารณะในพื้นที่อำเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternative The behvior of youth rcing on the public rod. in the re of ko chn chonburi province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research is intended to study the aggregation behavior of youth racing and comparing the differences of the youth racing aggregation’s behavior on the public road in Ko Chan, Chonburi, which categorized with personal information. Questionnaires are used for the apparatus for the research. The statistic of the research represents as Frequency distribution, Percentage, Mean, and Standard Deviation. To examine the hypothesis with t-Test for the variable, Gender. In addition to the One-way ANOVA statistic, used for the variables, including age, status, educational level, occupation, and revenue at a statistically significant level of 0.05 or 95% of the reliability. The result of the research found that overall population’s behavior is in the high level ( X = 3.90) Part I: General information gathered from the interviewees found out that, most of the sample population are Females than Males, calculated as the 40.2 (percentage). Most of their age range is between 31-40 years old, calculated as 38.4 (percentage). Marriage status contains the great number of the sample population, calculated as 65.6 (percentage). A large number of educational level in bachelor’s degree, calculated as 47.2 (percentage). Most of them work on their own businesses/trades, calculated as 29.4 (percentage). Also, earning around 10,001 – 15,000 baht, calculated as 34.4 (percentage). Part II: A survey’s result of the sampling population’s opinion about the aggregation behavior of motorcycle racing in youth on the public road in Ko Chan, Chonburi found that the overall behavior of the population is in the high level ( X = 3.90) Part III: The results of the hypothesis examination found out that Gender, Age, and the average income per month accepted the hypothesis. Meanwhile, status, educational level, and occupation rejected the hypothesis
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารงานยุติธรรมและสังคม
dc.degree.name รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account