dc.contributor.author |
วิรชา เจริญดี |
th |
dc.contributor.author |
เสาวภา สวัสดิ์พีระ |
th |
dc.contributor.author |
วรเทพ มุธุวรรณ |
th |
dc.contributor.author |
ศิริวรรณ ชูศรี |
th |
dc.contributor.author |
อนงค์ คูณอาจ |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:54:54Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:54:54Z |
|
dc.date.issued |
2553 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/951 |
|
dc.description.abstract |
กุ้งการ์ตูน Hymenocera picta dana (1852) จัดเป็นกุ้งทะเลสวยงามมีมูลค่าทางเศรษฐกิจในวงการธุรกิจสัตว์ทะเลสวยงาม เป็นสัตว์ทะเลสวยงามที่มีราคาค่อนข้างสูงและเป็นที่นิยมชมชอบของผู้เลี้ยงสัตว์ทะเลสวยงามในการพัฒนาเทคโนโลยีการเพาเลี้ยงกุ้งทะเลสวยงาม ปัญหา อุปสรรค ประการหนึ่งเนื่องมาจากการที่ลูกกุ้งทะเลสวยงามมีระยะวัยอ่อนที่ยาวนาน และมีอัตราการรอดตายต่ำดังนั้นจึงต้องมีการศึกษาการพัฒนาการของคัพภะและตัวอ่อน เพื่อใช้ในการกำหนดกรอบของการผลิต จากช่วงระยะเวลาของการวางไข่แต่ละครั้ง ระยะเวลาที่กุ้งฟักไข่ในแต่ละรอบ อาหารที่ให้ในแต่ละช่วงระยะเวลาของพัฒนาการเพื่อพัฒนาเทคนิคในการเพาะเลี้ยงให้มีอัตราการรอดที่สูงขึ้น
กุ้งการ์ตูนเพศเมียสามารถวางไข่ได้ตลอดปี โดยมีวงจรการสืบพันธุ์ทุก 15-21 วัน ที่อุณหภูมิน้ำ 28.4-31.1 องศาเซลเซียส การเจริญพัฒาของคัภพะ แบ่งออกเป็น 10 ระยะ ได้แก่ pre-clevage; cleavage blastomere; gastrula; germinal disk; naupliar; caudal papilla; c-shape; eye-pigmentation; segmented-abdmen; และ pre-hatching ภายหลังการปฏิสนธิเฉลี่ย (+-SD) 18+-3 วันตัวอ่อนจึงฟักออกจากไข่ ลูกกุ้งแรกฟักเกิดในระยะ zoea การเจริญพัฒนาของวัยอ่อน แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1ตายังคงรวมอยู่กับส่วนหัว; ระยะที่ 2 มีก้านตา; ระยะที่ 3 ส่วนของแพนหางด้านนอก (exopod) มีความยาวเป็นหนึ่งเท่าของแพนหางด้านใน (endopod); ระยะที่ 4 endopod มีความยาวเท่ากับ exopod; ระยะที่ 5 endopod และ exopod มีความยาวมากกว่าส่วนหาง (telson); ระยะที่ 6 ส่วนหาง (telson) มีขนาดความกว้างเท่ากันตั้งแต่โคนถึงปลาย; ระยะที่ 7 ส่วนปลายของหาง (telson)มีขนาดความกว้างแคบลง; ระยะที่ 8 เกิดตุ่มขาว่ายน้ำครบทั้ง 5 คู่;ระยะที่ 9 ขาว่ายน้ำ (pleopod) แต่ละคู่แบ่งออกจากกันเป็น 2 ส่วน; ระยะที่ 10 เกิดรอยเว้าระหว่างขาว่ายน้ำ (pleopod) 2 ส่วนเพื่อที่จะเกิดขาว่ายน้ำส่วนที่สาม; ระยะที่ 11 เกิดตุ่มขนาดเล็ก (small bud) ของขาว่ายน้ำ (pleopod) เพิ่มขึ้น; ระยะที่ 12 ขาว่ายน้ำแต่ละคู่มีขนอ่อน (setae) เกิดขึ้นและเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายจะเข้าสู่ระยะหลังวัยอ่อนลงเกาะพื้น (Postlarva stage) โดยพฤติกรรมเมื่อกุ้งเข้าสู่ระยะหลังวัยอ่อน คือกุ้งไม่กินอาหารหลังจากลงเกาะ 3 วันและจะมีรูปร่าง สีสัน ลวดลาย เหมือนกับพ่อแม่เมื่ออายุ 28-47 วัน
Ornamental shrimp species are popular with aquaculturists and hobbyists because of their attractive coloration. Harlequin shrimp, Hymenocera picta is highly prized and is one of the most striking decapods in the world. There are significant problems, however in the propagation and culture of larvae with long larval development times and low survival rates. It is essential therefore to have an understanding on the embeyonic and larval development production cycle. In addition,it is important to determine the period of time between spawning, the percentage hatch rate, feed management, and the development of nursery techniques to maximise survival rates.
Eggs were collected from broodstock and maintained in aquaria through hatch until the shrimp settling stage (32-47 days post hatch). Egg development was determine microscopically and the size of key structures on each larval stage were measured. Spawning occurs all year round in 28.4-31.1 'C water with the reproductive cycle taking 15-21 days. From observations on egg development, 10 clear development stages could be determined: pre-clevage; cleavage blastomers; gastrula; germinal disk; naupliar; caudal papilla; c-shape; eye-pigmentation; segmented-abdomen; and pre-hatching. Egg development typically took (+- SD) 18+-3 days following fertilisation. Following hatching there are 12 zoel stages: sessile eyes; stalked eyes; exopod longer than endopod; extension of the endopod to the same length as the exopod; endopod and exopod longer than telson; posterior margin of the telson having an equal width with some setae; telson tapers posteriorly the uropod now extends well beyond the telson and pleopod buds appears; 5 uniramous pleopod buds; pleopod buds biramous; segmentation plopods evident between exopod and endopod; pleopod 1-4 with appendices (smaller buds); pleopods adorned with plumose setae, chelipeds adorned with many small setae. The behaviour of the post-larval stages, feeding on starfish was observed at 3 days after metamorphosis.
This study then followed their subsequent development for the next 15 post-larval stages until the harlequin shrimp settle. This study has provided clear timings on the development of H. picta which will help in the future culture of this inportant ornamental shrimp species. |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
กุ้ง -- การเพาะเลี้ยง |
th_TH |
dc.subject |
กุ้งการ์ตูน |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาพัฒนาการของคัพภะและของกุ้งการ์ตูนวัยอ่อน Hymenocera picta Dana (1852) |
th_TH |
dc.title.alternative |
Embryonic and larval development of the Harlequin shrimp Hymenocera picta Dana (1852) |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2553 |
|