DSpace Repository

ความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียนมัธยมศึกษา :?bกระบวนการสร้างมโนทัศน์ การวัด และการวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลง

Show simple item record

dc.contributor.advisor วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์
dc.contributor.advisor เสกสรรค์ ทองคำบรรจง
dc.contributor.author ทิพวัลย์ อัตถาหาร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-06-06T09:02:43Z
dc.date.available 2023-06-06T09:02:43Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9219
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract งานวิจัยครั้งนี้ทำการศึกษาการแพร่กระจายของเมตาบอไลท์ของเอนโดซัลแฟนโดยใช้เทคนิคเชิงนิวเคลียร์ ซึ่งมีคาร์บอน -14 เอนโดซัลแฟนซัลเฟต และคาร์บอน-14 เอนโดซัลแฟนไดออลเป็นตัวติดตามระบบนิเวศนาข้าวจำลองทำด้วยท่อซีเมนต์จำนวน 3 ท่อ เส้นผ่าศูนย์กลาง 25 เซนติเมตร ใส่ดินรังสิตลงในระบบนิเวศนาข้าวจำลองให้มีความสูงจากพื้น 20 เซนติเมตร เติมน้ำลงไปและรักษาระดับน้ำสูงจากผิวดินประมาณ 5 เซนติเมตร เลี้ยงหอยเชอรี่ จากนั้นใส่สารคาร์บอน-14 เอนโดซัลแฟนซัลเฟตและคาร์บอน-14 เอนโดซัลแฟนไดออล ไปยังระบบนิเวศนาข้าวจำลอง ปลูกข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 และเก็บเกี่ยวข้าว เป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 132 วัน จึงวิเคราะห์คาร์บอน-14 เอนโดซัลแฟนและคาร์บอน-14 เอนโดซัลแฟนไดออลที่มีในตัวอย่างน้ำ, ตัวอย่างหอยเชอรี่ที่ตาย, ตัวอย่างต้นข้าว และ ตัวอย่างดิน ในตัวอย่างน้ำ พบว่า มีการลดลงของเอนโดซัลแฟนซัลเฟตและเอนโดซัลแฟนไดออลภายใน 1 วัน ลดลงเพียง 1.25 และ 17.52 เปอร์เซ็นต์ ของสารเริ่มต้น ตามลำดับ หลังจากนั้นปริมาณของเอนโดซัลแฟนซัลเฟตและเอนโดซัลแฟนไดออลเริ่มคงที่ในวันที่ 75 และวันที่ 3 หลังการใส่สารคิดเป็น 0.24 และ 11.79 เปอร์เซ็นต์ ของสารเริ่มต้น ตามลำดับ เมื่อพิจารณาการแพร่กระจายของเมตาบอไลท์ของเอนโดซัลแฟนทั้งสองชนิด พบว่า เอนโดซัลแฟนซัลเฟตมีการแพร่กระจายในน้ำน้อยกว่าเอนโดซัลแฟนไดออล สำหรับปริมาณของเอนโดซัลแฟนซัลเฟตในหอยเชอรี่ทีตาย พว่า มีการลดลงอย่างรวดเร็วเช่นเดียวกันในน้ำ แต่ ปริมาณของเอนโดซัลแฟนไดออลในหอยเชอรี่นั้น พบว่า มีค่าเปลียนแปลงเล็กน้อย ปริมาณของเมตาบอไลท์ทั้งสอง เท่ากับ 0.07 และ 0.89 เปอร์เซ็นต์ ของสารเริ่มต้น ตามลำดับ ปริมาณของเอนโดซัลแฟนซัลเฟตในต้นข้าว มีค่าเพิ่มขึ้นตามการเจริญเติบโตของต้นข้าว เท่ากับ 3.73 เปอร์เซ็นต์ ของสารเริ่มต้น หลังการใส่สาร 132 วัน สำหรับในดิน พบว่า การแพร่กระจายของเอนโดซัลแฟนซัลเฟตและเอนโดซัลแฟนไดออล มีค่าใกล้เคียงกัน พบในปริมาณ เท่ากับ 73.68 และ 72.88 เปอร์เซ็นต์ ของสารเริ่มต้น ตามลำดับ เมื่อสิ้นสุดการทดลอง พบว่า ปริมาณเปอร์เซ็นต์หลังการใส่สารรวมของเอนโดซัลแฟนและเอนโดซัลแฟนไดออลที่แพร่กระจายในทุกตัวอย่าง คิดเป็น 93.42 และ 90.68 เปอร์เซ็นต์ ของสารเริ่มต้น ตามลำดับ
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ปัญญา -- การทดสอบ
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.subject นักเรียนมัธยมศึกษา -- การทดสอบ
dc.subject ความคิดรวบยอด
dc.title ความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียนมัธยมศึกษา :?bกระบวนการสร้างมโนทัศน์ การวัด และการวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลง
dc.title.alternative Digital intelligence for high schools students: Conceptualization, measurement and analysis of change
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research was conducted to study the distribution of endosulfan metabolites using a nuclear technique. C-14 endosulfan sulfate and C-14 endosulfan diol were used as tracers. Three cement lysimeters of 25 cm in diameter filled with Rangsit soil up to 20 cm were set up and the water level was kept at 5 cm from the soil surface. Golden Apple snails were reared in the paddy field and the rice strain Supanburi I was used in this experiment. Each compound was put in separate lysimeters. The rice seedlings were grown in each lysimeter for 132 days until grain harvesting when C-14 endosulfan sulfate and C-14 endosulfan diol were analysed. The residual compounds were detected from water, dead snails, plant and soil samples. The residue of endisulfan sulfate and endosulfan diol in water decreased rapidly to 1.25 percent and 17.52 percent of initial concentration within 1 day. The residue stability of endosulfan sulfate and endosulfan diol has altered slightly to 0.24 percent and 11.79 percent of initial concentration within 75 and 3 days. When considering distribution of endosulfan metabolite in water, endisulfan sulfate was less well distributed than endosulfan diol. The residue of endosulfan sulfate in dead snails decreased rapidly as well. However, the residue of endosulfan diol in snails changed only slightly whereas the detected amount was 0.07 percent and 0.89 percent of initial concentration within 131 days. The residue of endosulfan sulfate in rice plants increased during the time of growing. The detected amount was 3.73 percent of initial concentration within 132 days. The residue of endosulfan sulfate and endosulfan diol in soil was 73.68 percent and 72.88 percent of initial concentration within 132 days. The distribution of endosulfan sulfate and endosulfan diol in all components were 93.42 percent and 90.68 percent of initial concentration.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline วิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account