dc.contributor.advisor |
วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์ |
|
dc.contributor.advisor |
จุฑามาศ แหนจอน |
|
dc.contributor.author |
ชลิญา เพ็ชรเหมือน |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-06T09:02:31Z |
|
dc.date.available |
2023-06-06T09:02:31Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9187 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาและทดสอบประสิทธิผลของโปรแกรมเสริมสร้างการควบคุมยับยั้งด้วยเอ็น แอล พี ในเด็กวัยเรียน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษา ที่มีประวัติเข้ารับบริการและตรวจวินิจฉัยปรับพฤติกรรม ณ แผนกจิตเวชโรงพยาบาลปากช่องนานา อายุระหว่าง 7 - 11 ปี จำนวน 56 คน สุ่มแบบจับคู่คะแนน ด้วยเครื่องมือทดสอบ Go/ No-go task เพศและอายุ แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 28 คน (ชาย 14 คน และหญิง 14 คน) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) โปรแกรมเสริมสร้างการควบคุมยับยั้งด้วยเอ็น แอล พี ในเด็กวัยเรียน ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นบนพื้นฐานแนวคิดของโปรแกรมภาษาประสาทสัมผัส 2) แบบประเมินความสามารถทางเชาว์ปัญญาเด็กอายุ 2 - 15 ปี 3. Swanson, Nolan and Pelham version IV (SNAP-IV) 4. Pervasive Developmental Disorder Screening Questionnaire (PDDSQ) และ 5. Go/ No-go task กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมเสริมสร้างการควบคุมยับยั้งด้วยเอ็น แอล พี ในเด็กวัยเรียน จำนวน 2 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที การรวบรวมข้อมูล แบ่งเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ก่อนการทดลอง และหลังการทดลอง วิเคราะห์ข้ออมูลด้วยการวิเคราะห์ค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนกลุ่มทดลอง มีคะแนน Commission error หลังการทดลองต่ำกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนกลุ่มทดลอง มีคะแนน Reaction time หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 3) ในระยะหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนน Commission error ต่ำกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) ในระยะหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลอง มีคะแนน Reaction time สูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปได้ว่า โปรแกรมเสริมสร้างการควบคุมยับยั้งด้วยเอ็น แอล พี มีประสิทธิผลในการเสริมสร้าง การควบคุมยับยั้งในเด็กวัยเรียน |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสมอง จิตใจ และการเรียนรู้ |
|
dc.subject |
อารมณ์ในเด็ก |
|
dc.subject |
การควบคุม (จิตวิทยา) ในเด็ก |
|
dc.title |
การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างการควบคุมยับยั้งในเด็กวัยเรียน |
|
dc.title.alternative |
The development progrm to promote inhibitory control in school ge children |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The aims of this research were to development and to examine the effectiveness of the program to promote inhibitory control on the concept of Neuro Linguistic Programming in children. The sample consisted of elementary school students, with statistics on diagnosis and behavior adjustment services at the Psychiatric Department, Pak Chong Nana Hospital, academic year 2020. A total of 56 samples, aged 7 - 11 years. The scores of the sample were randomly matched pattern by the Go/ No-go task test, gender and age then they were assigned into two groups: experimental and control group. Each group consisted of 28 students (14 boys and 14 girls). The research instruments were; 1) Pogram to promote inhibitory control in children created by the researcher based on the concept of Neuro Linguistic Programming (NLP), 2) Assessment of intelligence quotient for children aged 2 - 15 years, 3) Swanson, Nolan and Pelham version IV (SNAP-IV), 4) Pervasive Developmental Disorder Screening Questionnaire (PDDSQ) and 5) Go/ No-go task. The experimental group received the program to promote inhibitory control on the concept of Neuro Linguistic Programming for 2nd sessions, for 50 minutes. Data collection was done in two phases; before the experiment and after the experiment. The data were analyzed by t-test. The results were that; 1) The experimental group had the score of Commission error in the post-test higher than the pre-test statistically significant at .05 level. 2) The experimental group had the score of Reaction time in the post-test higher than the pre-test statistically significant at .05 level. 3) The experimental group had the score of Commission error higher than those in the control group in the post-test statistically significant at .05 level. 4) The experimental group had the score of Reaction higher than those in the control group in the post-test statistically significant at .05 level. It was concluded that the program to promote inhibitory control in on the concept of Neuro Linguistic Programming in children had the effect on inhibitory control. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
สมอง จิตใจ และการเรียนรู้ |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|