DSpace Repository

การสร้างแบบทดสอบความรู้เชิงสหวิทยาการตามแนวคิดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Show simple item record

dc.contributor.advisor ยุทธนา จันทะขิน
dc.contributor.advisor ปริญญา เรืองทิพย์
dc.contributor.author อวัสดา กิจสวน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการวิจัยและวิทยาการปัญญา
dc.date.accessioned 2023-06-06T09:02:10Z
dc.date.available 2023-06-06T09:02:10Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9143
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อสร้างแบบทดสอบความรู้เชิงสหวิทยาการตามแนวคิดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของแบบทดสอบความรู้เชิงสหวิทยาตามแนวคิดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและเพื่อสร้างปกติวิสัยของคะแนนความรู้เชิงสหวิทยาการตามแนวคิดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยทำการสำรวจกับนักเรียน จำนวน 1,032 คน ได้มาด้วยการสุ่มแบบหลายขั้นตอนเครื่องมือการวิจัยเป็นแบบทดสอบความรู้เชิงสหวิทยาการตามแนวคิดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรม Lisrel 8.7 ผลการวิจัยพบว่า 1. แบบทดสอบความรู้เชิงสหวิทยาการตามแนวคิดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย 5 ด้าน ข้อคำถามจำนวน 19 ข้อ ซึ่งได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับโลก ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี ความรู้ด้านสุขภาพ และความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม มีความตรงเชิงเนื้อหารายข้อมากกว่า .70 ทุกข้อ ค่าความเที่ยงทั้บฉบับ เท่ากับ .710 2. การตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของแบบทดสอบความรู้เชิงสหวิทยาการตามแนวคิดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายทำการพิจารณาค่าน้ำหนักของตัวแปรแฝงทั้ง 5 ตัว จากค่าสัมประสิทธิ์คะแนนมาตรฐานของน้ำหนักปรากฏว่า ความรู้เกี่ยวกับโลก และ ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ และความรู้่เกี่ยวกับสุขภาพมีความสำคัญมากที่สุด รองลงมาคือ ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม และความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี ตามลำดับซึ่งมีความตรงเชิงโครงสร้างจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอยู่ในเกณฑ์ดี 3. ปกติวิสัยแบบทดสอบความรู้เชิงสหวิทยาการตามแนวคิดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำแนกเป็น 3 ระดับ คือ กลุ่มสูง มีช่วงสเตไนน์ อยู่ที่ช่วง 7-9 กลุ่มปานกลาง มีช่วงสเตไนน์ อยู่ที่ช่วง 4-6 และกลุ่มต่ำ มีช่วงสเตไนน์ อยู่ที่ช่วง 1-3
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา
dc.subject การศึกษาขั้นมัธยม -- แบบทดสอบ
dc.subject แบบทดสอบ
dc.title การสร้างแบบทดสอบความรู้เชิงสหวิทยาการตามแนวคิดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
dc.title.alternative Creting test of interdisciplinry knowledge bsed on the 21st century lerning concept of upper secondry school students
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were 1) to create an interdisciplinary knowledge test based on the 21st century learning concepts of upper secondary school students, 2) to examine the structural validity of the test, and 3) to establish test norms. The test was administered to a sample of 1,032 students selected through multi-step randomization. The Lisrel 8.7 computer program was used to derive confirmatory factors. The results revealed that: 1. The interdisciplinary knowledge test based on the 21st century learning concept of upper secondary school students consisted of five areas involving 19 questions covering Global Awareness, Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy, Civic Literacy, Health Literacy and Environmental Literacy. Content validity was found to exceed .70 for every item. Test reliability was found to be satisfactory. 2. Examination of the structural validity of the test revealed that knowledge about the world, knowledge about finance, economics, business and entrepreneurship and knowledge of health were the most relevant dimensions, followed by environment and good citizenship, respectively. The structural validity of the test was determined to be at a good level. 3. Three stanine levels were developed for test norms: High (stanies from 7 to 9), Medium (stanines from 4 to 6), and Low (stanines below 4).
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account