dc.contributor.author |
ธิดารัตน์ น้อยรักษา |
th |
dc.contributor.author |
สุพัตรา ตะเหลบ |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:54:51Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:54:51Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/913 |
|
dc.description.abstract |
การแพร่กระจายของแพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก ได้ทำการศึกษาในบริเวณปากแม่น้ำรวม 28 สถานี ในฤดูแล้ง (มีนาคม 2548) และฤดูฝน (ตุลาคม 2548) พบแพลงก์ตอนพืช 75 สกุล ประกอบด้วย แพลงก์ตอนพืชสีเขียวแกมน้ำเงิน 5 สกุล แพลงก์ตอนพืชสีเขียว 11 สกุล ไดอะตอม 47 สกุล แพลงก์ตอนพืชสีน้ำตาลทอง 1 สกุล ซิลิโคแฟลกเจลเลต 1 สกุล และไดแฟลกเจลเลต 10 สกุล แพลงก์ตอนพืชสกุลที่มีการแพร่กระจายสูง ได้แก่ Thalassiosira, Chaetoceros, Navicula และ Pleurosigma ตามลำดับและพบว่า Chaetoceros มีปริมาณเซลล์สูงสุดในฤดูแล้ง และ skeletonema มีปริมาณเซลล์สูงสุดในฤดูฝน ดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของฤดูแล้ง และฤดูฝน มีค่าอยู่ระหว่าง 0.04-2.42 และ 0.43-2.69 ตามลำดับ คุณภาพน้ำที่มีอิทธิพลต่อโครงสร้างสังคมแพลงก์ตอนพืชมากที่สุดคือ ความเค็ม รองลงมา คือออกซิเจนที่ละลาายน้ำ ความโปร่งแสงของน้ำ ความเป็นกรด-ด่าง และอุณหภูมิ ตามลำดับ
Distribution and abundance of phytoplankton were studied along the river mouth of the Eastern coast of Thailand. The samples were collected from 28 stations in the dry (March 2005) and wet season (October 2005). Seventy five genera of phytoplankton were found. They were blue-green algae (5 genera), green alhae (11 genera), diatom (47 genera), golden-brown algae (1 genus), silicoflagellate (1 genus) and dinoflagellate (10 genera). The most distribution of the phytoplankton in the study area was Thalassiosira followed by Chaetoceros, Navicula and Pleurosigma, respectively. In term of average cell density, the most abundance phytoplankton in the dry season was Chaetoceros whereas that in the wet season was Skeletonema. The shannon's diversity index in the dry and wet seasons were 0.04-2.42 and 0.43-2.69, respectively. The structure of the phytoplankton community was mainly influenced by salinity, dissolved oxygen, transparency, pH and temperature, respectively. |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2548 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
Abundance |
th_TH |
dc.subject |
Distribution |
th_TH |
dc.subject |
Phytoplankton |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.subject |
แพลงค์ตอนพืช - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - วิจัย |
th_TH |
dc.subject |
แพลงค์ตอนพืชทะเล - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - วิจัย |
th_TH |
dc.title |
การแพร่กระจาย และความชุกชุมของแพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ปี 2548 |
th_TH |
dc.title.alternative |
Distribution and abundance of phytoplankton along the Eastern coast of Thailand in 2005 |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2549 |
|