Abstract:
ด้วยถังปฏิกิริยาแบบเลี้ยงการศึกษาทดลองครั้งนี้เป็นการศึกษาประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียจากนากุ้งด้วยระบบบำบัดแบบชีววิทยา แบบจำลองที่ใช้ในการทดลองประกอบตะกอนเร่งตามด้วยบ่อเลี้ยงสาหร่ายผมนาง
การทดลองแบ่งเป็น 2 ชุดโดยป้อนน้ำเสียเข้าระบบแบบ Sequence Batch System กำหนดให้การทดลองชุดที่ 1 มีระยะเวลาเก็บกักในถังปฏิกิริยา 6 ชั่วโมง คิดเป็น Organic loading 72.64 gBOD/m3.d และระยะเวลาเก็บกักในบ่อสาหร่ายนางนาน 24 ชั่วโมง การทดลองชุดที่ 2 มีระยะเวลาเก็บกักในถังปฏิกิริยา 4 ชั่วโมง คิดเป็น Organic loading 108.96 gBOD/m3.d และระยะเวลาเก็บกักในบ่อสาหร่ายผมนางนาน 24 ชั่วโมง
ผลการทดลองพบว่า ระบบบำบัดที่ค่า Organic loading 72.64 gBOD/m3.d และ Organic loading 108.96 gBOD/m3.d มีประสิทธิภาพในการบำบัดบีโอดี 58.10% และ 49.25% ตามลำดับ สามารถลดแอมโมเนีย-ไนโตรเจน ได้ 42.24% และ 35.69% ระบบยังสามารถลดปริมาณของแข็งแชวนลอยได้ 84.91% และ 73.79% ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าระบบสามารถลดความเค็มได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น
This study was an experiment testing wastewater from a shrimp farm using biological processes. The models consisted of completely mixed tanks and wetlands with Gracilaria sp as submerged plants.
The Sequence batch System were divided into 2 sections according to the aeration time and the organic loading.
Section 1 : The organic loading 72.64 gBOD/m3.d,aeration time 6 hours , the hydraulic retention
time in wetlands 24 hour.
Section 2 : The organic loading 108.96 gBOD/m3.d,aeration time 4 hours , the hydraulic
retention Time in wetlands 24 hour.
The results show that the efficiency of BOD removal was 58.10% , and 49.25% for the organic loading of 72.64 gBOD/m3.d , and 108.96 gBOD/m3.d respectively. It was also found that with the same organic loadings the efficiency of NH3-N removal was 57.46% , and 47.84 the efficiency of NO3-N removal was 42.24% , and 35.69% the efficiency of Suspended was 84.91% and 73.79% , respectively.
In addition , it was found that efficiency of salinity removal was low.